Computer Programming for Engineers

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Introduction to C Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
ตัวแปรชุด.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การประมวลผลสายอักขระ
Week 12 Engineering Problem 2
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
โครงสร้าง ภาษาซี.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

259201 Computer Programming for Engineers Variables

Week 2 Introduction to C Programming Outline 2.1 A Simple C Program: Printing a Line of Text 2.2 Another Simple C Program: Adding Two Integers 2.3 Memory Concepts 2.4 Arithmetic in C 2.5 Decision Making: Equality and Relational Operators

2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 1 /* Fig. 2.1: fig02_01.c 2 A first program in C */ 3 #include <stdio.h> 4 5 /* function main begins program execution */ 6 int main() 7 { 8 printf( "Welcome to C!\n" ); 9 10 return 0; /* indicate that program ended successfully */ 11 12 } /* end function main */ Welcome to C! Comments ข้อความที่อยู่ระหว่างเครื่องหมาย /* และ */ คือ Comment เพื่อช่วยอธิบายการทำงานของโปรแกรม แต่ไม่มีผลกับการทำงาน #include <stdio.h> เป็นการระบุว่าโปรแกรมนี้ต้องมีการใช้ Header file ชื่อ stdio.h เพื่อให้โปรแกรมสามารถทำงานที่เกี่ยวกับ input/output มาตรฐานได้

2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด int main() โปรแกรมภาษาซีจะต้องประกอบไปด้วย 1 ฟังก์ชันหรือมากกว่า และฟังก์ชันที่จะต้องให้มีทุกโปรแกรมคือ ฟังก์ชันชื่อว่า main เครื่องหมายวงเล็บจะตามหลังชื่อฟังก์ชัน int หมายถึงฟังก์ชัน main ทำการคืนค่า หรือ Return ค่าที่เป็นชนิดจำนวนเต็ม (integer) เครื่องหมาย Braces ({ และ }) เป็นการระบุขอบเขตของการทำงาน ในส่วนชุดคำสั่งของฟังก์ชันทุกฟังก์ชันจะต้องอยู่ในเครื่องหมาย { }

2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด printf( "Welcome to C!\n" ); สั่งคอมพิวเตอร์ให้ทำงาน ในกรณีนี้จะเป็นการแสดงผลข้อความที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูด (" ") บรรทัดหนึ่งเรียกว่า Statement ทุก Statement จะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย Semicolon (;) Escape character (\) เป็นการระบุให้ printf ทำบางสิ่งบางอย่างที่ไม่ปกติ เช่น \n คือการให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ไม่ใช่ให้แสดงผล \n ออกไปบนหน้าจอ

2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด

2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด 2.1 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี : การแสดงข้อความ 1 บรรทัด return 0; การสิ้นสุดการทำงาน และคืนค่า 0 โดยทั่วไปหมายถึงการทำงานเป็นปกติ Right brace } ระบุจุดสิ้นสุดของฟังก์ชัน main

fig02_02.c Program Output Welcome to C!

fig02_03.c Program Output Welcome to C!

ชนิดของข้อมูลในภาษาซี (Data Type) ข้อมูลที่มีการใช้งานในภาษาซี แบ่งออกเป็น 6 ชนิด คือ 1) ข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) 2) ข้อมูลชนิดตัวเลขทศนิยม (Float) 3) ข้อมูลชนิดเลขฐานแปด (Octal) 4) ข้อมูลชนิดเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) 5) ข้อมูลชนิดตัวอักขระ (Character) 6) ข้อมูลชนิดข้อความ (String)

การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) ตัวแปรในภาษาซีแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตัวแปรพื้นฐานที่หมายถึงตัวแปรที่เก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียว และตัวแปรชุด คือ ตัวแปรที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้หลายค่าภายในตัวแปรตัวเดียว ซึ่งในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงแค่ตัวแปรพื้นฐาน ส่วนตัวแปรชุดจะเรียนในหัวข้อถัดไป

ตัวแปรพื้นฐานในภาษาซีที่กำหนดตามมาตรฐาน ANSI C

รูปแบบการประกาศตัวแปร ในภาษาซีมีรูปแบบการประกาศตัวแปร ดังนี้  ตัวอย่างการประกาศตัวแปร เช่น int num; float grade; หากต้องการประกาศตัวแปรหลายตัวชนิดเดียวกันก็สามารถทำได้ โดยการใช้เครื่องหมาย , คั่น เช่น int a,b,c;

นอกจากนี้ยังสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรไปพร้อมกับการประกาศตัวแปร เช่น int num = 1; char ch = ‘#’, d = ‘D’; โดยหลักการตั้งชื่อตัวแปรมาใช้งานนั้น ควรคำนึงถึงว่าจะต้องตั้งให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของภาษาซี และ ควรจะตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับการทำงานหรือหน้าที่ของตัวแปรนั้นๆ เพราะเมื่อถึงเวลาต้องมาทำการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม จะสามารถทำได้โดยไม่ยากนัก

Format ที่ใช้บ่งบอกชนิดของตำแหน่ง (Place Holders) ที่จะมีการส่งข้อมูล ในการเขียนโปรแกรมนั้น เราจะต้องมีกี่ใช่ Place Holders ในการรับส่งข้อมูล เพื่อการแสดงผล โดยรูปแบบการใช้ Place Holders นั้น จะขึ้นอยู่กับชนิดของตัวแปรที่ต้องการส่งข้อมูล ดังเช่น

การคำนวณทางคณิตศาสตร์

fig02_04.c

Enter first integer 45 Enter second integer 72 Sum is 117 Program Output

A visual representation integer1 45 integer1 45 integer2 72 integer2 72 sum 117

ลำดับการทำงาน

ตัวอย่างลำดับการทำงาน

การเปรียบเทียบ

fig02_09.c (Part 1 of 2)

fig02_09.c (Part 2 of 2) Program Output Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: 3 7 3 is not equal to 7 3 is less than 7 3 is less than or equal to 7

Program Output (continued) Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: 22 12 22 is not equal to 12 22 is greater than 12 22 is greater than or equal to 12 Program Output (continued) Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: 7 7 7 is equal to 7 7 is less than or equal to 7 7 is greater than or equal to 7