การสำรวจและ ทบทวนวรรณกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผลงานวิชาการ
Advertisements

ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
การนำเสนอบทความ เรื่อง การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 04/01/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
การศึกษารายกรณี.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
แนะนำวิทยากร.
Management Information Systems
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
การติดตาม และประเมินโครงการ.
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
การจัดทำ Research Proposal
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ฐานข้อมูล Science Direct
Computer Seminar (310492) สัมมนาทางคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
แนวคิดในการทำวิจัย.
กระบวนการวิจัย Process of Research
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การสืบค้นข้อมูลเพื่อทำวิทยานิพนธ์ ให้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
เป็นฐานข้อมูลทางด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศจากสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จดหมายข่าว และเอกสารในการประชุมทาง วิชาการ ที่จัดทำโดย ACM (Association for Computing.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. การจำแนกประเภท  ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
CLASSROOM ACTION RESEARCH
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจและ ทบทวนวรรณกรรม Source : : Keshav P. Dahal (Bradford University) : Prof Jiang, Prof McClachey

การสำรวจและทบทวนวรรณกรรม การสืบค้นหาวรรณกรรมที่ต้องการ การอ่าน การเขียนเอกสารอ้างอิง วิเคราะห์กรณีศึกษา + Problem Analysis

ประเภทของข้อมูล ข้อมูล ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิ การทดลอง สัมภาษณ์ แบบสอบถาม การสนทนา เอกสารตีพิมพ์ การบรรยาย

ทำไมต้องทบทวนวรรณกรรม เพื่อหาข้อมูลการพัฒนา ระดับของการพัฒนา หรือศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จ หรือศาสตร์ล่าสุดในเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อหาช่องว่างของความรู้ที่มีอยู่ปัจจุบัน

ทำไมต้องทบทวนวรรณกรรม ค้นหาความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ เพื่อหางานที่เกี่ยวข้องหรือใกล้เคียงว่ามีการทำไปแล้วอย่างไรบ้าง โจทย์วิจัย วิธีการ ผลที่ได้ ช่วยให้เกิดการพัฒนาต่อยอด

โลกของวรรณกรรม หนังสือ วารสาร บทความการประชุมทางวิชาการงานสัมมนา World wide web เอกสารตีพิมพ์ที่ขายให้ผู้สนใจ หนังสือพิมพ์

ประเภทของบทความวิชาการ บทความตีพิมพ์โดยผู้วิจัย บทความตีพิมพ์ที่รวบรวม หรือประมวลงานที่ตีพิมพ์ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย

ไม่ใช่แค่การอ่านหนังสืออ่านทั่วไป การอ่านเอกสารเพื่อทบทวนวรรณกรรมเป็นการอ่านที่ต้องประเมินและดึงประเด็นสำคัญออกมาเพื่อใช้ในงานวิจัยหรือเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ ไม่ใช่แค่การอ่านหนังสืออ่านทั่วไป

ในการอ่านเอกสารวิชาการ คำถามที่ต้องตอบ ในการอ่านเอกสารวิชาการ เอกสารที่อ่านเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไรและจะเกี่ยวข้องกับงานของเราอย่างไร  แรงจูงใจในการทำงานที่อ่านนี้คืออะไร?  งานนี้จะช่วยเราในประเด็นไหนได้บ้าง  ทำไมเราอ่านงานวิจัย / เอกสารนี้

ในการอ่านเอกสารวิชาการ คำถามที่ต้องตอบ ในการอ่านเอกสารวิชาการ งานที่อ่านนี้ใช้เทคนิคหรือเครื่องมือใด ผู้ที่ทำการวิจัยกำลังค้นพบอะไร มุมมองของผู้วิจัยเป็นอย่างไร สิ่งที่ผู้วิจัยทำแตกต่าง หรือเหมือนกับของเราอย่างไร

ผลลัพธ์ที่ต้องการจากการทบทวนวรรณกรรม มีความรู้ที่เพียงพอสำหรับการทำวิจัยของตน อ่านแล้วสามารถนำมาใช้ในงานของเราได้

เทคนิคการอ่าน

เทคนิคการอ่านรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เทคนิคการอ่านรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  เริ่มอ่านด้วยหนังสืออ่านง่ายและสนุก อ่านสมํ่าเสมอทุกวันในช่วงเวลาสั้นๆ  มีความตั้งใจที่จะอ่านให้เร็วกว่าเดิม  กําหนดเวลาในการอ่านให้แน่นอน เช่น 30 นาที หรือ1 ชั่วโมง  จับใจความให้ได้ด้วยการทดลองทํานายเนื้อเรื่องล่วงหน้าและทบทวนเรื่องที่อ่านผ่านไปแล้ว  ศึกษาศัพท์ ความหมายของคําที่ใช้ คําใดที่ไม่แน่ใจควรทําเครื่องหมายไว้ 

เทคนิคการอ่านรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เทคนิคการอ่านรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  การเคื่ลอนใหวสายตาย้อนกลับ จะทําให้เกิดความ สับสน  อ่านโดยกวาดสายตาไปรอบๆ  อ่านในใจไม่พึมพํา หรือทําปากขมุบขมิบ  จดบันทึกผลความก้าวหน้า  อย่าหยุดอ่านเพื่อจดบันทึกจนกว่าจะจบตอนหนึ่งๆ จากบทความ "การฝึกการอ่าน" ในวารสารแนะแนววิทยาลัย ครูเทพสตรี เล่ม 5 ประจําภาคกลาง พ.ศ. 2509

เทคนิค SQ 3R ของ Dr.Francis Robinson สํารวจ (Survey) ส่วนต่างๆของหนังสือ เช่น คํานํา สารบัญบรรณานุกรม  ตั้งคําถาม (Question) จากเนื้อหา  อ่านหาคําตอบ (Reading)  ระลึก (Recall) สิ่งที่อ่านผ่านไปแล้ว  ทบทวน (Review)  วรรณา เกตุภาค เขียนไว้ในวารสารการศึกษาเอกชน ปีที่ 3 ฉบับที่ 12

เทคนิคการอ่านตําราเรียนให้ได้ดี สํารวจหนังสือ : เพื่อรู้จักคุ้นเคย  อ่านแนวคิดหลัก : จับประเด็นสําคัญ  ตั้งคําถามขณะอ่าน : อะไร ทําไม อย่างไร ใคร เมื่อไร  เน้นประเด็นสําคัญ : ทําเครื่องหมาย  ประสานคําบรรยายกับตํารา : ช่วยให้เข้าใจลึกซึ้ง  ทบทวน : บ่อยๆจะจําได้ดี  จาก คู่มือจัดกิจกรรมกลุ่ม "การเสริมสร้างประสิทธิภาพทางการเรียน' โดย  ผศ. เรียม ศรีทอง

การศึกษาตามหลัก SOAR จาก College Study Skills โดย Shepherd, J.J. S=Survey สํารวจหรือสร้างความคุ้นเคยก่อนอ่าน  ที่มา คํานํา สารบัญ รูปแบบของหนังสือ หนังสืออ้างอิง ดัชนี คํานํา หัวข้อ สรุป ของแต่ละบท  O=Organize เรียบเรียงหรือจดสิ่งที่ได้อ่าน  ทําเครื่องหมายเน้นประเด็นสําคัญ ประเด็นรอง เมื่ออ่าน  จดย่อ  A=Anticipate ทดลองทําแบบฝึกหัด ตอบคําถาม หรือทดสอบ  R=Recite and Review หัดท่องจําและทบทวนเสมอๆ  จาก  College Study Skills โดย Shepherd, J.J.

การอ่านหนังสือประเภทต่างๆ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์: ไม่ควรอ่านตะลุยเรื่อยๆ รวดเดียวจบเล่มควรอ่าน  แล้วหยุดพักเป็นตอนๆไปเรื่อยๆ  ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ : ควรอ่านตะลุยรวดเดียวไปจนจบเพื่อให้เรื่องราว  สัมพันธ์ต่อเนื่องกัน  วรรณคดี : อ่านอย่างรอบคอบถี่ถ้วน อ่านช้าๆไม่รีบเร่งปล่อยอารมณ์ให้คล้อยตามคําบรรยาย ถ้าอ่านเพื่อศึกษาควร มีการวิเคราะห์เรื่องราว บทบาทของตัวละครตลอดจนส่วนอื่นๆของวรรณคดี  นิตยสารและหนังสือพิมพ์ ควรใช้วิจารณญาน พิจารณาอย่างรอบคอบ ไม่ใช่  เชื่อทุกอย่างตามที่ข่าวรายงาน scan before reading, read abstract and conclusions first

วิธีการค้นหาเอกสารวิชาการ

วิธีการการหาบทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานของเราจากวารสารและงานประชุม สอบถามจากผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับงานที่เรากำลังทำ สมัครเป็นสมาชิกวารสารหรืองานประชุมวิชาการที่เกี่ยวข้อง หาจาก websites ของงานประชุม หรือของวารสาร

การเขียนบรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง หนังสือ (Books) อ้างทั้งเล่ม อ้างบางส่วนหรือบางบท วารสาร (Journals) สิ่งตีพิมพ์ (Publications) รายงาน (Reports) วิทยานิพนธ์ (Thesis) บทคัดย่อของงานวิจัยที่เสนอในการประชุม (Abstract of meeting papers) โปสเตอร์ในการประชุม (Poster of conference) สิทธิบัตร (Patents) งานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์ (Unpublished materials) หรือ อ้างบุคคล การสัมภาษณ์ Computer software สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Sources) กฎหมาย ภาพยนตร์ ดนตรี เทป

Sources - databases Web of Science (ISI web of Knowledge) - http://www.isiwebofknowledge.com/ Google scholars ACM Digital Library – full test of ACM articles ResearchIndex - NECI Scientific Literature Digital Library The Collection of Computer Science Bibliographies Lecture Notes in Computer Science Compendex, 1970- Inspec , 1969- Expanded Academic Index, 1980- ScienceDirect Citeseer, http://citeseer.ist.psu.edu/ Conference indeces – Paper First, 1993- – Proceedings First, 1993- Index To Theses - U.K. and Ireland 1970 to 1999 Networked Computer Science Technical Reference Library (NCSTRL) report

Guidance for literature review • Do not cite from a cite - go to the source • Do not be shy about contacting authors • Citing papers more than 3-4 years old – OK for seminal work (journal) but – not appropriate when comparing your results • journal citation is usually preferable • Use standard terminology • Do not over cite your own previous work

CMU http://library.cmu.ac.th/cmul/

การวิเคราะห์ปัญหาและ Problem tree method

ปัญหาเป็นผลผลิตของคน และองค์กร

Problem Tree method เป็นการวางแผนงานที่ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ การมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์จากผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นส่วนที่ทำให้เกิดแนวทาง ความคิด หรือ โอกาสใหม่

การวิเคราะห์ปัญหา จำแนกว่าอะไรเป็นปัญหาหลักที่สำคัญ หาสาเหตุ และผลที่เกิดจากปัญหานั้น วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ปัญหาคือเพื่อให้แน่ใจว่าอะไรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพื่อวางแผนดำเนินการแก้ไข

การวิเคราะห์ปัญหา เลือกปัญหา หรือสิ่งที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น ในเรื่องที่ต้องการศึกษา แต่ละปัญหาที่เลือกมา นำไปเขียน problem tree แต่ละ problem tree วิเคราะห์หาสาเหตุและผลที่เกิดจากปัญหานั้น กำหนดวัตถุประสงค์จากการวิเคราะห์ที่ได้

Diagram of problems ภาวะทุพโภชนาการ อาหารขาดแคลน ผลผลิตข้าวที่ลุ่มลดลง ผลผลิตเกษตรบนที่สูงลดลง มีอัตราการย้ายถิ่นฐานสูง ดินเบนที่สูงเสื่อมคุณภาพ มีปัญหาชุนกลุ่มน้อยในหมู่บ้านใกล้เคียง ระบบชลประธานเข้าไม่ถึงพื้นที่ที่ต้องการ ปัจจัยการผลิตที่ใช้ไม่เพียงพอในเวลลาที่ต้องการ มีการชะล้างพังทลายของดิน คลองส่งน้ำถูกปิดจากพืชน้ำ วาวล์คุณภาพต่ำ ระบบซ่อมบำรุงชลประธานไม่ดี

Diagram of objectives ภาวะทุพโภชนาการลดลง ปรับปรุงสถานกรณ์ขาด เพิ่มผลผลิตข้าวที่ลุ่ม เพิ่มผลผลิตเกษตรบนที่สูง ลดอัตราการย้ายถิ่นฐาน ดินเบนที่สูงเสื่อมคุณภาพ แก้ปัญหาชุนกลุ่มน้อยในหมู่บ้านใกล้เคียง ระบบชลประธานเข้าไม่ถึงพื้นที่ที่ต้องการ สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่ใช้ให้เพียงพอในเวลาที่ต้องการ ปัจจัยการผลิตที่ใช้ไม่เพียงพอ ลดการชะล้างพังทลายของดิน ลอกคลองส่งน้ำ เพิ่มคุณภาพวาวล์น้ำ พัฒนาระบบซ่อมบำรุงชลประธาน

Clustering ปัจจัยการผลิต ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปัญหาชนกลุ่มน้อย ปรับปรุงสถานกรณ์ขาด เพิ่มผลผลิตข้าวที่ลุ่ม ภาวะทุพโภชนาการลดลง เพิ่มผลผลิตเกษตรบนที่สูง ลดอัตราการย้ายถิ่นฐาน ระบบชลประธานเข้าไม่ถึงพื้นที่ที่ต้องการ สนับสนุนปัจจัยการผลิตที่ใช้ให้เพียงพอในเวลาที่ต้องการ ดินเบนที่สูงเสื่อมคุณภาพ ลดการชะล้างพังทลายของดิน ลอกคลองส่งน้ำ เพิ่มคุณภาพวาวล์น้ำ พัฒนาระบบซ่อมบำรุงชลประธาน แก้ปัญหาชุนกลุ่มน้อยในหมู่บ้านใกล้เคียง ปัจจัยการผลิต ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปัญหาชนกลุ่มน้อย ระบบชลประธาน

เลือกกลุ่มวัตถุประสงค์ที่ต้องการดำเนินการตามผลกระทบและความเร่งด่วน หรือตามนโยบาย