Research Methodology.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
วิธีการแสวงหาความรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การวิจัยการศึกษา.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การจัดกระทำข้อมูล.
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนรายงานการวิจัย
การจัดทำ Research Proposal
บทที่ 3 Planning.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
กระบวนการวิจัย Process of Research
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการคิดวิเคราะห์.
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ADDIE Model.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 3 กระบวนการวิจัยตลาดและการกำหนดปัญหาการวิจัย
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
การเขียนโครงการ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
CLASSROOM ACTION RESEARCH
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Research Methodology

Out line การวิจัยคือ? กระบวนการวิจัย การวิจัยด้านการจัดการความรู้ ทำไมต้องทำวิจัย จะเริ่มต้นทำวิจัยจากตรงไหน กระบวนการทำวิจัย • Model of research • Research questions and hypotheses • Process of generating research idea • Selecting research question • Research design and process

Objective เข้าใจหลักการการทำวิจัย ทำไมงานวิจัยจึงมีความสำคัญ เข้าใจกระบวนการวิจัย นักศึกษาสามารถประมวลที่มา สถานการณ์ และโจทย์วิจัยของตนได้

งานวิจัยคือ? ? ? ? ? ? ?

วิธีหาความรู้ของมนุษย์  คำว่า การวิจัย มาจากคำว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search Re แปลว่า ซ้ำ Search แปลว่า ค้น Research แปลว่า การค้นหาความรู้ความจริงที่ค้นแล้วค้นอีก ซึ่งจะทำให้ได้รับรู้ความรู้ความจริงที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการสรุป

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ การวิจัยเป็นกระบวนการหาความรู้ที่ได้รับการยอมรับว่า ความรู้ที่ได้มานั้นป็นความรู้ที่เป็นที่น่าเชื่อถือสามารถนำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ได้เป็นอย่างดี มนุษย์มีกระบวนการหาความรู้มาเป็นเวลานานและความรู้ที่ได้หลายอย่างยังคงสามารถใช้ได้อยู่ในปัจจุบัน

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ อุปนัย (Inductive reasoning) อุปนัย : การหาความจริงด้วยการสังเกตข้อเท็จจริง มักเป็นการมองสิ่งเฉพาะเจาะจง แล้วนำไปสู่หลักทั่วไป นิรนัย (Deductive Reasoning หรือ Aristotelian Deduction) พิจารณาเหตุผล ลงความเห็นโดยพิจารณาจากหลักทั่วไป แล้วนำไปสู่เรื่องเฉพาะ เริ่มต้นจาก กฎ หรือ หลักวิชา ก่อนแล้วสรุปผล เป็น deductive เริ่มต้นจากประสบการณ์ หรือจากการสังเกต เป็น inductive http://www.sjsu.edu/depts/itl/graphics/induc/ind-ded.html

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ ทุกครั้งที่เตะลูกบอลขึ้นไปลูกบอลจะตกลงมาดังนั้น คาดว่าครั้งต่อไปถ้าเตะลูกบอลขึ้นไปอีกลูกบอลก็คงจะตกลงมาอีกเหมือนเดิม (เคยทำครั้งที่ 1 มาแล้วจึงคาดคะเนผลครั้งที่ 2) กฎของนิวตัน ทุกอย่างที่นำไปไว้อยู่บนที่สูงจะตกลงมาที่พื้น ดังนั้นถ้าเตะลูกบอลขึ้นไปลูกบอลคงจะต้องตกลงมา (แม้ว่าจะไม่เคยทดลองทำแม้แต่ครั้งเดียว)

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ อริสโตเติลเชื่อว่า การรับเอาความรู้ความจริงของมนุษย์ เกิดจากการอาศัยหลักของเหตุผลในการจะเชื่อ ซึ่ง ความรู้หรือความจริงนั้นจำเป็นจะต้องได้รับการพิสูจน์ก่อน โดยจะเริ่มที่กำหนดความรู้ความจริงขึ้นมา แล้วพิจารณาว่าตัวอย่างหนึ่ง ๆ อยู่ในเงื่อนไขหรือไม่ แล้วจึงสรุปเป็นความรู้ความจริง              ข้อเท็จจริงใหญ่ - นกทุกชนิดมีปีก          ข้อเท็จจริงย่อย - กาเป็นนกชนิดหนึ่ง          ข้อสรุป - กามีปีก

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ ฟรานซิส เบคอน แย้งวิธีอนุมานของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง หากข้อเท็จจริงใหญ่ไม่ถูกต้อง แล้วจะทำให้ข้อสรุปที่จะเป็นความรู้ความจริงนั้นไม่ถูกต้องด้วย       ข้อเท็จจริงใหญ่ - ปลาทุกชนิดมีเกล็ด       ข้อเท็จจริงย่อย - ปลาดุกเป็นปลาชนิดหนึ่ง       ข้อสรุป - ปลาดุกมีเกล็ด แม้ว่าข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยจะถูกต้องแต่ ยังอาจมีเงื่อนไขที่ทำให้ข้อสรุปไม่ถูกต้อง เช่น       ข้อเท็จจริงใหญ่ - นกทุกชนิดออกลูกเป็นไข่       ข้อเท็จจริงย่อย - เต่าออกลูกเป็นไข่       ข้อสรุป -เต่าจึงเป็นนกชนิดหนึ่ง

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ ฟรานซิส เบคอน แย้งวิธีอนุมานของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง วิธีการอนุมานของอริสโตเติล ไม่ช่วยให้พบความรู้ความจริงใหม่ ๆ ไม่มีความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ มีเพียงความรู้เก่าที่นำมาพิสูจน์เท่านั้น     เบคอน จึงเสนอ วิธีอุปมาน (Baconian Induction)       ขั้นที่ 1 เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงย่อย       ขั้นที่ 2. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อเท็จจริงย่อยเหล่านั้น       ขั้นที่ 3 สรุปผล (Conclusion)         ข้อเท็จจริงย่อย - นกแต่ละชนิดมีปีก         ข้อสรุป - นกทุกชนิดมีปีก

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ ฟรานซิส เบคอน แย้งวิธีอนุมานของอริสโตเติล ว่ามีข้อบกพร่อง หลักอุปมานมี 2 แบบคือ       1. อุปมานอย่างสมบูรณ์ (Perfect Induction) แสวงหาความรู้โดยการเก็บรวบรวม ข้อเท็จจริงย่อย ๆ จากทุกหน่วยของประชากร แล้วจึงสรุปรวม       2. อุปมานที่ไม่สมบูรณ์ (Imperfect Induction) แสวงหาความรู้โดยการเก็บรวบรวม ข้อเท็จจริงย่อย ๆ จากบางส่วนของหน่วยประชากร แล้วจึงสรุปรวม

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ ชาร์ล ดาร์วิน นำวิธีอนุมานของอริสโตเติลและวิธีอุปมานของ เบคอน มารวมกัน เพราะเห็นว่าทั้งสองวิธีจะมีประโยชน์อย่างมากในการที่จะค้นความความรู้ความจริง และตรวจสอบความถูกต้องความรู้ความจริงนั้น เรียกว่า วิธีการอนุมาน-อุปมาน

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ Deductive-Inductive Method 5 ขั้นตอน         1.ขั้นปัญหา (Problem)         2.ขั้นตั้งสมมติฐาน(Hypothesis)         3.ขั้นรวบรวมข้อมูล(Gathering Data)         4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(Analysis)         5.ขั้นสรุป(Conclusion)

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ (Deductive-Inductive Method) 5 ขั้นตอน         1.ขั้นปัญหา (Problem) เป็นขั้นตอนการสังเกตพบปัญหา หรือพบว่าความรู้ความจริงใดเป็นสิ่งที่เราต้องการ มีเหตุการหรือสภาพการณ์เป็นอย่างไร มีเหตุหรือปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิดเหตุการณ์หรือสภาพการณ์นั้น         2.ขั้นตั้งสมมติฐาน(Hypothesis) เป็นการศึกษาและทบทวนความรู้ที่มีอยู่เดิมมาประกอบการพิจารณาว่าคำตอบของปัญหาในขั้นที่ 1 นั้นเป็นอย่างไร ซึ่งเรียกว่า การตั้งสมมติฐาน ซึ่งจะใช้เป็นแนวในการตรวจสอบว่า สมมติฐานที่ตั้งขึ้นนี้จะเป็นจริงหรือไม่         

วิธีหาความรู้ของมนุษย์ (Deductive-Inductive Method) 5 ขั้นตอน 3.ขั้นรวบรวมข้อมูล(Gathering Data) การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง มาอย่างเพียงพอและตรงกับสิ่งที่ต้องการศึกษา 4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(Analysis) ในขั้นนี้จะเป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์เพื่อคำตอบที่ต้องการ 5.ขั้นสรุป(Conclusion) ในขั้นตอนนี้เป็นการนำผลการวิเคราะห์มาแปลผลและตีความผลการวิจัยที่พบ เพื่อสรุปผลการวิจัยนั่นเอง   

งานวิจัยคือ? เป็นหนึ่งในวิธีการที่ใช้ค้นหาสาเหตุหรือที่มาของปัญหาอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ การตั้งคำถาม แล้วดำเนินการ เพื่อหาคำตอบ กระบวนการคิด แล้วทำอย่างเป็นระบบ เพื่อค้นหาองค์ความรู้ใหม่, เพื่อแก้ปัญหา, เพื่อพัฒนา แหล่งข้อมูล:ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ, นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี, 2533

งานวิจัยคือ? วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธีการหาความรู้ความจริงที่มีความน่าเชื่อถือ กระบวนการวิจัยจะต้องได้จากข้อมูลใหม่ จุดมุ่งหมายใหม่ หรือข้อมูลเก่า แต่จุดประสงค์ใหม่ การวิจัยมุ่งที่จะหา ข้อเท็จจริงใหม่ ทฤษฎีใหม่ การวิจัยเป็นกระบวนการที่ใช้เหตุผล การวิจัยต้องมีการวางแผน ด้วยความระมัดระวัง อย่างมีระบบ การวิจัย ต้องมีการบันทึก และรายงาน อย่างละเอียด      แหล่งข้อมูล http://www.edurmu.org/cai/_surawart/elearning/content/lesson1/101.html

กิจกรรมที่เป็นการวิจัย ทำให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นต่อหลักการบางอย่าง เช่นแสงเดินทางเร็วกว่าเสียง พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่นรถไฟฟ้า,คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น พัฒนากระบวนการหรือเทคนิคใหม่ๆ ที่ส่งผลให้กระบวนการดีกว่าเดิม ปรับปรุงแนวปฏิบัติที่ทำอยู่ในปัจจุบัน การพัฒนาความเข้าใจใหม่จากความรู้ที่มีอยู่

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อใช้ในการบรรยาย หรือบอกสิ่งที่เกิดขึ้น ว่าเป็นเช่นไร อยู่ที่ใด มีกี่ประเภท มากน้อยเพียงใด มีสภาพเป็นอย่างไร มีพัฒนการหรือเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร หรือ มีปัญหาอะไร มีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด เป็นต้น เพื่อใช้ในการอธิบาย ผลที่ได้จากการวิจัยทำให้สามารถบอกเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ว่ามีสาเหตุมาจากสิ่งใดหรือได้รับอิทธิพลจาก ตัวแปรใดหรือปัจจัยใด รวมทั้ง ปัจจัยใดมีอิทธิพลมากน้อยกว่ากัน เพื่อใช้ในการทำนาย ในบางครั้ง เราจำเป็นที่จะต้องทราบอนาคตของสิ่งที่ศึกษา ว่าเป็นเช่นไร อันจะช่วยให้มนุษย์สามารถที่เตรียมการ ปรับตัวให้ทันการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้       แหล่งข้อมูล:http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=FAQ&file=index 2006-02-11

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อใช้ในการควบคุม การดำเนินกิจกรรม ที่ต้องการประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน ต้องเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลง และมีการปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมนั้น ๆ เพื่อ ให้สามารถได้ข้อมูลที่ถูกต้องทันเหตุการณ์และเพียงพอต่อการตัดสินใจ แก้ปัญหาและปรับปรุงงานนั้น ๆ จำเป็นจะต้องอาศัยกระบวนการวิจัยที่รอบรอบรัดกุม เพื่อใช้ในการพัฒนา การวิจัยจะช่วยให้ทราบสภาพความเป็นอยู่ หรือสภาพการดำเนินการใด ๆ ว่ามีประสิทธิภาพ หรือมีปัญหา หรือทราบว่าต้องการพัฒนาด้านใด เพื่อช่วยให้การดำเนินการพัฒนามีประสิทธิภาพและส่งผลต่อคุณภาพ       แหล่งข้อมูล:http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=FAQ&file=index 2006-02-11

ประโยชน์ของการวิจัย ได้ความรู้ใหม่ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ พิสูจน์หรือตรวจสอบความถูกต้องของกฏเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีต่างๆ เข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณ์และ พฤติกรรมต่าง ๆ ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่าง ถูกต้อง ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ช่วยในการวินิจฉัย ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม ช่วยปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยปรับปรุงและพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ และวิธีดำรงชีวิตได้ดียิ่งขึ้น ช่วยกระตุ้นบุคคลให้มีเหตุผล รู้จักคิดและค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ แหล่งข้อมูล:http://www.nrct.net/modules.php?op=modload&name=FAQ&file=index 2006-02-11

ขั้นตอนพื้นฐานในการทำโครงการวิจัย หาหัวข้อ – what and when ตั้งคำถาม – what and why กำหนดประชากร / ขอบเขตการวิจัย – who and when ออกแบบกระบวนการวิจัยและ กำหนดวิธีการวิเคราะห์/ประเมิน – How หาหลักฐาน เก็บข้อมูลทุตยภูมิ และปฐมภูมิ – How วิเคราะห์ / ตีความ จากหลักฐานที่เก็บ – Why แสดงผลว่าทำอะไรไปบ้าง และ ค้นพบอะไร / ได้ผลเป็นอย่างไร Kate Manual, online:http://myemail.tut.edu.tw/~z9501002/file/ResearchMethodology101.ppt#256,1,Research Methodology 101

ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)

ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) วิธีการค้นหาคำตอบ ที่ทำเป็นกระบวนการ เพื่อใช้ค้นหาคำตอบ เป็นแบบแผนของการวิจัย ที่เริ่มตั้งแต่ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลอย่างมีขั้นตอน

ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) ระเบียบวิธีวิจัย คือกระบวนการที่ใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของที่ตั้งไว้ แหล่งข้อมูล : ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ

ส่วนประกอบของ Research Methodology Reviews & Questions Objectives Expected Outcomes Scope Methods and tools Data Analysis Research Plan, duration

1. Reviews & Questions ทบทวนวรรณกรรม และ ตั้งโจทย์วิจัย ส่วนประกอบของ Research Methodology 1. Reviews & Questions ทบทวนวรรณกรรม และ ตั้งโจทย์วิจัย แนวทางเพื่อให้ได้มาซึ่งโจทย์วิจัย ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เช่นการใช้ Delphi technique กระบวนการหรือเครื่องมือที่ใช้ในการตัดสินใจ หรือได้ข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็นระบบ ที่ปราศจากการเผชิญหน้าโดยตรงของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยการรวบรวมและสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ การทบทวนวรรณกรรม เป็นการสืบค้นงานวิจัยที่มีผู้ทำมาก่อนแล้ว เพื่อศึกษาว่ามีใครทำงานวิจัยใดไว้บ้าง โจทย์วิจัยคืออะไร ใช้วิธิการ ทฤษฎีอะไรในการวิจัย และผลที่ได้เป็นอย่างไร

1. Reviews & Questions ทบทวนวรรณกรรม และ ตั้งโจทย์วิจัย ส่วนประกอบของ Research Methodology 1. Reviews & Questions ทบทวนวรรณกรรม และ ตั้งโจทย์วิจัย แนวทางเพื่อให้ได้มาซึ่งโจทย์วิจัย Stakeholder analysis เป็นกระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตัดสินว่าความเห็น หรือความสนใจของใครควรถูกนำมาใช้ในการดำเนินการเพื่อพัฒนา และดำเนินการ Academic Meetings ผลที่ได้ Conceptual framework

research conceptual framework Example of research conceptual framework

2. การกำหนดวัตถุประสงค์ ส่วนประกอบของ Research Methodology 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ มีความเป็นไปได้ในการหาคำตอบ ผู้ทำวิจัยมีความสนใจ ก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่นำไปสู่การกำหนดนโยบาย,การปฏิบัติ คำนึงถึงจริยธรรม คุณธรรม

ส่วนประกอบของ Research Methodology 3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ แตกต่างจากวัตถุประสงค์ เป็นผลที่ได้จากการได้ความรู้ใหม่ กระบวนการใหม่ ส่งผลต่อการปฏิบัติ นโยบาย ส่งผลต่อแนวทางการดำเนินการใหม่

ส่วนประกอบของ Research Methodology 4. ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครอบคลุมเนื้อหาของงานแค่ไหน การเก็บข้อมูล การสุ่มตัวอย่าง เก็บข้อมูลจากใคร จำนวนตัวอย่างที่เก็บข้อมูล

5.วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ส่วนประกอบของ Research Methodology 5.วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีการที่ใช้ เช่นการใช้แบบจำลอง การใช้หลักการ ทฤษฎีในการวิจัย เครื่องมือ เช่น ใช้แบบสอบถาม ในการเก็บข้อมูล การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล

ส่วนประกอบของ Research Methodology 6. การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) อัตราส่วน Ratio A:B สัดส่วน Proportion A/(A+B) ร้อยละ Percent % สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) Hypothesis testing Counted Variables : Chi square Measure Variables : t-test

ส่วนประกอบของ Research Methodology 7 แผนและระยะเวลาในการทำวิจัย: Gantt Chart กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มีค. เมย. พ.ค. คำถามวิจัย ทบทวนวรรณกรรม ข้อเสนอโครงการ (Proposal) สร้างเครื่องมือ (Questionnaire) พัฒนาเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอความก้าวหน้า นำเสนอรายงาน

การวิจัยด้านการจัดการความรู้

Focuses on Knowledge as the end product – for Social benefit Academic Research Focuses on Knowledge as the end product – for Social benefit

Academic Research Mode 1 Classic model Scientific What… question Objective Single discipline Mode 2 Modern model Practice based How… question Subjective Multidiscipline

การวิจัยด้านการจัดการความรู้ KM journal Source: http://www.emeraldinsight.com/journals.htm?issn=1367-3270&volume=15&issue=6 Effects of knowledge spillovers on innovation and collaboration in science and technology parks Angeles Montoro-Sánchez, Marta Ortiz-de-Urbina-Criado, Eva M. Mora-Valentín Knowledge retention: minimizing organizational business loss Moria Levy Firm-internal knowledge integration and the effects on innovation Anne Koch Organizational factors to support knowledge management and innovation Mario Javier Donate, Fátima Guadamillas (pp. 890 - 914) Innovation as a knowledge-based outcome Eric Quintane, R. Mitch Casselman, B. Sebastian Reiche, Petra A. Nylund

Why research

การใช้สัญชาติญาณ และการใช้อำนาจ ในการดำเนินการ Why research การใช้สัญชาติญาณ และการใช้อำนาจ ในการดำเนินการ ปัญหา อาจมีความลำเอียงเนื่องจากทัศนคติของผู้ปฏิบัติ ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจที่ผิดพลาด เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าสัญชาติญาณนั้นถูกต้อง เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าผู้ที่มีส่วนในการตัดสินใจ มีข้อสรุปที่ถูกต้อง

Why research แต่สัญชาติญาณ และความเห็นของผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจ สามารถใช้เป็น guides และ ideas ในการทำวิจัย

Where to start

Where to start เริ่มอย่างไร Sources of Ideas • Common sense • Observation of things happening in the world • Past research • Practical problems • Theories

Where to start โจทย์วิจัย การเริ่มต้นจาก โจทย์วิจัย เป็นวิธีการที่ดีวิธีการหนึ่ง ในการทำวิจัย

Initial problem / opportunity Where to start Initial problem / opportunity Theory 1 Hypothesis Research question Theory 2 Theory 3 Hypothesis

Where to start โจทย์วิจัย ควรเป็นคำถามสั้นๆ ไม่เป็นคำถามที่ตอบไม่ได้ คำถามนั้นจะต้องหาคำตอบได้ด้วยการวิจัย ไม่เป็นคำถามที่ใครๆก็รู้คำตอบกันอยู่แล้ว ใช้สามัญสำนึกตอบก็ได้ เป็นเรื่องที่ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทำ ต้องการที่จะรู้คำตอบ คำตอบที่ได้จะนำไปใช้ประโยชน์อะไร เช่น นำไปกำหนดเป็นนโยบายแนวทางปฏิบัติ แหล่งข้อมูล : ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.

โจทย์วิจัยที่ไม่ควรตั้ง สถานการณ์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คำถามเร่งด่วนที่ไม่มีเวลาในการทำวิจัยเพื่อหาคำตอบ ผิดจรรยาบรรณ ศิลธรรม

คำถามหลัก มีคำถามเดียว ผู้วิจัยจะต้องจะต้องตอบคำถามหลัก คำถามหลักเป็นตัวกำหนดรูปแบบการวิจัย ประชากรที่ศึกษา ขนาดประชากร การวัดผลและวิเคราะห์ผลการศึกษา สอดคล้องกับคำถามหลัก

คำถามรอง มีความสำคัญรองจากคำถามหลัก อาจมีได้หลายคำถาม อาจไม่สามารถตอบได้ครบทุกข้อ เพราะจำนวนประชากรที่ศึกษาออกแบบสำหรับตอบคำถามหลัก

ตัวอย่างคำถาม คำถามหลัก สินค้าเกษตร premium quality ช่วยลดความยากจนของเกษตรกรในพื้นที่ห่างไกลได้หรือไม่ อย่างไร คำถามรอง สินค้าอะไร กลยุทธ์การตลาดควรเป็นอย่างไร ขายใคร ขายอย่างไร จะพัฒนาสินค้าอย่างไร ควรจัดการระบบห่วงโซ่อุปทาสินค้านั้นอย่างไร สามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรได้แค่ไหน ผลิตเท่าใดจึงจะช่วยลดความยากจน

คำถามและวัตถุประสงค์การวิจัย คำถามและวัตถุประสงค์การวิจัย สัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน คำถามวิจัยหมายถึง ข้อความระบุสาระประเด็นการวิจัยที่ชัดเจน และจำเพาะในรูปประโยคคำถาม โจทย์วิจัยเป็นจุดเริ่มต้นของการหาคำตอบ และสัมพันธ์กับทุกส่วนของกระบวนการวิจัย

คำถามวิจัยที่ดี ช่วยจำกัดขอบเขตของการวิจัย ประเด็นวิจัยชัดเจน ช่วยเลือกกำหนดตัวแปรข้อมูลให้ตรงประเด็น ช่วยชี้แนะรูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม ช่วยชี้แนะกำหนดกรอบการสรุปผลวิจัย

ตัวอย่างคำถามวิจัย ผู้ป่วยนอก รพ.พุทธชินราช ที่มีโรคทางจิตเวชร่วมกับการดื่มแอลกอฮอล์ มีเท่าใด ครีมกันแดดลดความเสี่ยงโรคมะเร็งผิวหนังได้จริงหรือไม่ ยาต้านวัณโรคมีประสิทธิผลในการป้องกันวัณโรคในผู้ป่วยติดเชื้อ HIV หรือไม่

Assignment 1 ทำรายงานและนำเสนอ ชื่อหัวข้อวิจัย สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ โจทย์วิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อเป็นแนวทางในการเขียน อาจใช้วิธีเขียนเพื่อตอบคำถามต่อไปนี้ 1 เพื่อเป็นแนวทางในการเขียน อาจใช้วิธีเขียนเพื่อตอบคำถามต่อไปนี้ 1. สถานการณ์เป็นอย่างไร ประเด็นปัญหา หรือคำตอบที่ต้องการค้นหาคืออะไร? มีกี่ปัญหา? ต้องการกี่คำตอบ? 2. มีความจำเป็นเพียงใดที่จะค้นหาคำตอบดังกล่าว? ถ้าไม่ค้นหาจะเสียหายอย่างไร? ถ้าค้นหาได้แล้วจะช่วยให้อะไรดีขึ้นอย่างไร? 3. การค้นหาคำตอบนี้ ทำได้อย่างไร? ใช้วิธีการใดบ้าง? 4. ผลที่ได้จากการวิจัยเพื่อแก้ปัญหานี้คืออะไร