Legal System Subject of Law Rule of Law – Civil Case & Criminal Case, Private & Public Law Crime & Punishment Legal Process 12 Legal System
Subject of Law การลงโทษกับบุคคลผู้กระทำความผิดโดยตรง บุคคลตามกฎหมาย – มนุษย์เป็นประธานแห่งสิทธิตามกฎหมาย ในการที่จะดำเนินการอันมีผลทางกฎหมายได้ ในสายตาของกฎหมาย คุณค่าของมนุษย์ต้องได้รับการเคารพ เช่น กฎหมายถือว่ามนุษย์มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน Equal before the law! การลงโทษกับบุคคลผู้กระทำความผิดโดยตรง ไม่ลงโทษอย่างทรมาน 12 Legal System
กฎหมายแพ่ง และกฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง และกฎหมายอาญา กฎหมายเป็นเครื่องมือกำหนดแบบแผนในสังคมมนุษย์ที่กำหนดไว้ในด้านต่างๆ เช่น ชีวิตร่างกาย ทรัพย์สิน การจัดการทรัพยากร การค้า ทำสัญญา เรื่องทางแพ่ง – บุคคล ครอบครัว มรดก ทรัพยสิน นิติกรรม สัญญา 12 Legal System
กฎหมายเอกชน กับ กฎหมายมหาชน กฎหมายแต่ละตัวที่มีขึ้นมีวัตถุประสงค์ต่างๆกันไป กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ – เน้นที่เสรีภาพของบุคคลในการกระทำการ เมื่อไม่มีกฎหมายห้ามไว้ กฎหมายอาญา – รักษาความสงบ เรียบร้อยของสังคม กฎหมายมหาชน – รักษาสมดุลระหว่าง ประโยชน์สาธารณะกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ดังนั้นการใช้อำนาจมหาชนจึงต้องอยู่บนพื้นฐานของกฎหมายที่ให้อำนาจไว้เสมอ 12 Legal System
กฎหมายและการลงโทษ การจะลงโทษคนทางอาญาได้ ต้องมีการบัญญัติไว้ว่าเป็นความผิด และต้องมีการกำหนดโทษไว้ บุคคลจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้ หลักการพื้นฐานของความผิด – ไม่มีความผิดถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ บุคคลจะรับโทษทางอาญาก็ต่อเมื่อมีกฎหมายในขณะกระทำความผิดได้บัญญัติไว้ว่าเป็นความผิดและได้กำหนดโทษไว้ ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้ก็ไม่เป็นความผิดและการออกกฎหมายย้อนหลังก็เป็นสิ่งที่ต้องห้าม 12 Legal System
การกระทำที่เป็นความผิดต้องเป็นการแสดงออกให้เห็นอย่างชัดเจน ต้องเป็นการกระทำหรือไม่กระทำที่แสดงปรากฏให้เห็น หากเป็นความรู้สึกนึกคิดเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลงโทษได้ ต้องเป็นการกระทำโดยรู้สำนึก คือ ขณะที่ลงมือกระทำ ผู้กระทำต้องมีสติหรือตระหนักรู้ถึงการกระทำของตนว่ากระทำอะไรและจะมีผลอย่างไรเกิดขึ้น คำถาม เด็ก ๕ ขวบ เอาปืนมายิงเล่น, คนบ้าใช้ดาบตัดคอผู้อื่น, เมาเหล้ายิงปืนโดนคนตาย 12 Legal System
ปัญหาบางประการในการกำหนดการกระทำให้เป็นความผิด โดยทั่วไปมักกำหนดให้การกระทำที่ส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่นเป็นสิ่งที่เป็นความผิด แต่การกระทำบางอย่าง เช่น ดื่มเหล้า, รักร่วมเพศ, ค้าประเวณีโดยสมัครใจ ทำไมจึงเป็นความผิดในสังคม (บางแห่ง) 12 Legal System
รูปแบบของ การกระทำที่เป็นความผิด การกระทำหรือไม่กระทำที่ทำให้เกิดผล โดยทั่วไปความผิดต้องมาจากการกระทำ เช่น การฆ่าผู้อื่น การทำร้ายผู้อื่น ฯลฯ แต่มีความผิดจากการไม่กระทำ เป็นการกระทำโดยตรงหรือการกระทำโดยอ้อมก็สามารถเป็นความผิด การกระทำโดยตรง หมายถึงเป็นผู้กระทำด้วยตนเอง เรียกว่า ความผิดโดยงดเว้น การกระทำโดยอ้อม ไม่ได้เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง แต่มีส่วนสำคัญในการทำให้ความผิดเกิดขึ้น 12 Legal System
เป็นผู้ลงมือปล้นร้านทองด้วยการใช้ปืนเป็นอาวุธ คำถาม เป็นผู้ลงมือปล้นร้านทองด้วยการใช้ปืนเป็นอาวุธ ร่วมวางแผนแต่ไม่ได้ไปปล้นด้วย เปิดประตูเพื่อให้ขโมยเข้ามาตอนกลางคืน ไม่ได้ร่วมปิดสนามบิน แต่ส่งข้าวส่งน้ำ 12 Legal System
เหตุบางอย่างที่กฎหมายให้อภัย คำถาม มีบุคคลถือมีดดาบจะวิ่งเข้ามาทำร้าย ถ้าเรามีปืนยิงไปเพื่อป้องกันตัว มีความผิดหรือไม่ อยู่ในเรือกลางทะเล ไม่มีผู้ใดมาช่วยเหลือ ตกลงกันฆ่าคนหนึ่งเพื่อใช้เป็นอาหาร เป็นความผิดหรือไม่ 12 Legal System
บุคคลนั้นได้กระทำในสิ่งที่เป็นความผิด แต่กฎหมายให้ถือว่าได้รับการยกเว้นไม่มีความผิดหรือไม่ต้องรับโทษเนื่องจากเป็นการกระทำที่มีเหตุผลบางอย่างรองรับ ป้องกัน มีการกระทำบางอย่างเป็นการละเมิดต่อกฎหมายเกิดขึ้น และเป็นอันตรายที่ใกล้จะถึง การกระทำเพื่อยุติการละเมิดกฎหมายนั้นอย่างพอสมควร จำเป็น การกระทำอันเนื่องมาจากตกอยู่ในสถานการณ์ที่จำเป็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อให้ตนหรือผู้อื่นพ้นไปจากอันตรายซึ่งไม่สามารถกระทำได้ด้วยวิธีการอื่น 12 Legal System
- ล้อมรั้วบ้านปล่อยกระแสไฟฟ้า กลางคืนมีขโมยมาปีนแล้วโดนไปดูดตาย คำถาม - ล้อมรั้วบ้านปล่อยกระแสไฟฟ้า กลางคืนมีขโมยมาปีนแล้วโดนไปดูดตาย - ตำรวจมาซุ่มอยู่ริมรั้วตอนกลางคืน เจ้าของบ้านเอาปืนยิงตาย - นักศึกษาทุจริตในการสอบ 12 Legal System
การยกโทษ หรือการยกเว้นโทษ เมื่อมีการตัดสินแล้วว่าบุคคลนั้นได้กระทำความผิดจริง ในทางกฎหมายอาจมีการยกโทษให้ การอภัยโทษ เมื่อบุคคลได้สำนึกผิดและได้รับโทษไปบางส่วนแล้ว อาจขอให้ประมุขของรัฐทำการยกโทษให้ การนิรโทษกรรม คือการออกกฎหมายมาหลังจากที่ได้เกิดการกระทำความผิดต่อกฎหมายที่กำหนดไว้แล้ว ว่าการกระทำนั้นได้รับการยกเว้นว่าไม่ต้องรับโทษ 12 Legal System
การลงโทษ การลงโทษต้องได้สัดส่วนกับการกระทำ หลักการพื้นฐาน รัฐเป็นผู้ผูกขาดอำนาจในการลงโทษ เพื่อไม่ให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายโดยเอกชนซึ่ง อาจสร้างความวุ่นวายให้เกิดขึ้น เช่น กินหมูกระทะ ไม่หมด ปรับ 200 บาท การลงโทษต้องได้สัดส่วนกับการกระทำ กระทำความผิดรุนแรงก็ต้องได้รับโทษที่รุนแรง หากกระทำความผิดที่รุนแรงน้อยก็ต้องได้รับโทษน้อย โทษต้องได้สัดส่วนกับความผิดที่กระทำลง เช่น เพื่อป้องกันการลักทรัพย์ให้มีโทษจำคุกตลอดชีวิต 12 Legal System
บทลงโทษต้องมีประสิทธิภาพในการปรามการกระทำความผิด ต้องทำให้ผู้กระทำรู้สึกกลัวและไม่สามารถหาประโยชน์จากการกระทำผิดได้ เช่น ปล้นทรัพย์ โทษจำคุก1 เดือน การลงโทษต้องเคารพสิทธิมนุษยชน ต้องไม่มีการลงโทษในลักษณะของการทรมานหรือประจานผู้กระทำความผิด และหากผู้กระทำเป็นเด็ก เยาวชน ต้องเปิดโอกาสให้มีการกลับตัวกลับใจได้ 12 Legal System
ป้องปรามไม่ให้ผู้อื่นกระทำตาม ฟื้นฟูเยียวยาผู้กระทำความผิด เป้าหมายของการลงโทษ แก้แค้นทดแทน ป้องปรามไม่ให้ผู้อื่นกระทำตาม ฟื้นฟูเยียวยาผู้กระทำความผิด รูปแบบของการลงโทษ กระทำต่อชีวิต ประหารชีวิต กระทำต่อเสรีภาพในร่างกาย จำคุก/กักขัง กระทำต่อทรัพย์สิน ปรับ/ริบทรัพย์สิน บังคับให้กระทำการบางอย่าง 12 Legal System
รูปแบบของการลงโทษ สภาพบังคับทางปกครอง – การเพิกถอนสิทธิ เช่น การได้รับสัมปทาน, ใบอนุญาตกระทำการต่างๆ สภาพบังคับทางกฎหมายแพ่ง – เรียกค่าเสียหาย สภาพบังคับทางอาญา – ประหารชีวิต, จำคุก, กักขัง, ปรับ, ริบทรัพย์สิน จบการบรรยายในวันอังคารตรงนี้ 12 Legal System
กระบวนการยุติธรรม การต้องมีคนดูแลจัดการให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายหลังจากที่มีการบัญญัติไว้แล้ว เช่น ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ 12 Legal System
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง การที่คนเราเท่าเทียมกัน ภาวะไร้รัฐ state of nature การต้องตามบังคับคดี การมีหน่วยงานจัดการหักเงิน ณ ที่จ่ายเพื่อตัดปัญหาต้องตามทวงทุกเดือน 12 Legal System
การพิสูจน์ ระบบกล่าวหา ระบบไต่สวน คดีหมอวิสุทธ-หมอภัสสภร คดีเชอรี่แอน คดีอากง คดีบก./เฟสบุค ไม่ได้ประกันตัว จบ ☃ 12 Legal System