ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม วินิจ กัลยาณพงศ์ – นุกูลกิจ เดชดำนิล- พงษ์พิพัฒน์ ภูเยี่ยมจิตร ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมและซ่อมบำรุง โทร.0-2354-5730-40 โทรสาร 0-2354-5741 www.etvthai.tv (ข้อมูลรายการ) www.ceted.org/engineer(ข้อมูลเทคนิค) www.dtvz.net(ข้อมูลซื้ออุปกรณ์) www.9sats.com(ข้อมูลซื้ออุปกรณ์) www.yantech.com(ซ่อมอุปกรณ์) 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ ส่วนประกอบที่สำคัญ ชุดจานรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite dish set) เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite receiver) เครื่องรับโทรทัศน์ (TV monitor) อื่นๆ 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
ชุดจานรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite dish set) จานสะท้อนสัญญาณคลื่นวิทยุจากดาวเทียม มีหน้าที่สะท้อนคลื่นวิทยุให้เข้าสู่ตัวรับสัญญาณ ผลิตจากโลหะขึ้นรูป ลักษณะผิวโค้งของพาลาโบล่า หรือแบบโลหะมุ้งลวดหุ้มผิวโค้งของพาลาโบล่าด้วยไฟเบอร์ ชนิดที่รับคลื่นวิทยุย่าน KU-Band มีขนาดเล็กเช่นขนาด 75 ซม. ตัวรับสัญญาณคลื่นวิทยุจากดาวเทียม มีหน้าที่ขยายสัญญาณและเปลี่ยนคลื่นความถี่ให้ต่ำลงส่งสัญญาณให้เครื่องรับ (คลื่นจากดาวเทียมความถี่ 12272 MHz เปลี่ยนเป็นความถี่ 972MHz เข้าสู่เครื่องรับ) ติดตั้งอย่างมั่นคงแข็งแรง หันหน้าจานไปยังตำแหน่งของดาวเทียมค้างฟ้า มีมุมกวาดและมุมเงยคงที่ เช่นมุมกวาด 240 องศาตะวันตก มุมเงย 60 องศาสถานที่ติดตั้ง กรุงเทพฯ (ดาวเทียมไทยคม 5 อยู่ตำแหน่ง 78.5 องศาตะวันออก ที่เส้นศูนย์สูตรความสูงประมาณ 36,000 กิโลเมตร) แต่ละจังหวัดค่ามุมกวาดและมุมเงย เปลี่ยนแปลงซึ่งสามารถหาค่าได้จากทฤษฎีเลขาคณิต หรือจาก www.ceted.org/engineer 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
ชุดจานรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite dish set) LNBf (Low Noise Block/feedhorn) ชุดจานรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite dish set) จานสะท้อนสัญญาณคลื่นวิทยุจากดาวเทียม มีหน้าที่สะท้อนคลื่นวิทยุให้เข้าสู่ตัวรับสัญญาณ ผลิตจากโลหะขึ้นรูป ลักษณะผิวโค้งของพาลาโบล่า หรือแบบโลหะมุ้งลวดหุ้มผิวโค้งของพาลาโบล่าด้วยไฟเบอร์ ชนิดที่รับคลื่นวิทยุย่าน KU-Band มีขนาดเล็กเช่นขนาด 75 ซม. ตัวรับสัญญาณคลื่นวิทยุจากดาวเทียม มีหน้าที่ขยายสัญญาณและเปลี่ยนคลื่นความถี่ให้ต่ำลงส่งสัญญาณให้เครื่องรับ (คลื่นจากดาวเทียมความถี่ 12272 MHz เปลี่ยนเป็นความถี่ 972MHz เข้าสู่เครื่องรับ) ติดตั้งอย่างมั่นคงแข็งแรง หันหน้าจานไปยังตำแหน่งของดาวเทียมค้างฟ้า มีมุมกวาดและมุมเงยคงที่ เช่นมุมกวาด 240 องศาตะวันตก มุมเงย 60 องศาสถานที่ติดตั้ง กรุงเทพฯ (ดาวเทียมไทยคม 5 อยู่ตำแหน่ง 78.5 องศาตะวันออก ที่เส้นศูนย์สูตรความสูงประมาณ 36,000 กิโลเมตร) แต่ละจังหวัดค่ามุมกวาดและมุมเงย เปลี่ยนแปลงซึ่งสามารถหาค่าได้จากทฤษฎีเลขาคณิต หรือจาก www.ceted.org/engineer 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite Receiver) Digital Satellite Receiver ดิจิตัล (Digital) CA (conditional Access) บัตรสมาชิก(Smart Card) สัญญาณทางออก (Output) TV ใช้สาย1เส้น เสียงรวมกับภาพ Monitor ใช้สาย 2 เส้น เสียงและภาพแยกกัน 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite Receiver) CA (Conditional Access) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ร่วมกับบัตรสมาร์ทกาดร์สำหรับถอดรหัสข้อมูลให้ตรงกันกับทางสถานีส่งเพื่อให้ดูรายการได้เป็นปกติ เครื่องรับที่ไม่มี CA ให้เห็นแสดงว่าอยู่ร่วมกับวงจรภายในเครื่อง ดาวเทียมแต่ละค่ายจะมี CA รูปแบบข้อมูลต่างกัน 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม (Satellite Receiver) Smart Card บัตรสมารท์การ์ด สำหรับกำหนดคุณสมบัติของการรับชม ETV ไม่ต้องใช้ 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ สายนำสัญญาณ RG 6 นำสัญญาณคลื่นวิทยุจากหัวรับ(LNBf) ไปยังเครื่องรับสัญญาณ ลวดตัวนำเส้นกลางและลวดชิลล์นิยมใช้ทองแดง(ชนิดที่ดี) ย่านความถี่ใช้งานประมาณ 950-2150MHz ความยาวใช้งานไม่ควรเกิน 30 เมตร(ยิ่งสั้นยิ่งดี) 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ
เครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียมในปัจจุบัน ราคาเครื่องถูกลงมากๆ (เมื่อเครื่องเดิมเสียไม่ควรซ่อมเพราะซื้อถูกกว่า) มีจำนวนช่องรับ(Channel)มากกว่า เพิ่มข้อมูลในเครื่องง่ายกว่า ไม่ต้องใช้แผ่นการ์ด ไม่ต้องใช้ CA module ช่องที่รับชมได้ 3, 5, 7, 9, 11, TITV, DLTV, ETV, TGN ธรรมะ, รัฐสภา, การเงิน, สยามกีฬา แนะนำเครื่องรับ ชื่อ DTV มีตัวแทนจำหน่ายทุกภาค 05/04/60 สกศน. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรมฯ