รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
คำว่ารู้สึกผิด คุณเจะนะฮ์ สะอิ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 14.
จริยธรรมองค์กร.
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง.
กรณีตัวอย่าง.
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
คุณภาพคืออะไร - แปลศัพท์ : ภาวะที่เป็นคุณประโยชน์ต่อผู้ใช้ - ผู้ประกอบวิชาชีพ : การปฏิบัติตามมาตรฐาน วิชาชีพ - ผู้ใช้ประโยชน์หรือลูกค้า : ตอบสนองความ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
YOUR LOGO Page  2 เป้าหมาย 1. เข้าใจถึงอิทธิพลของการแข่งขัน ในยุคทุนนิยมเสรี และผลกระทบต่อภาพรวมของ ประเทศและต่อองค์กร 2. รู้แนวคิด สูตร แนวทางปฎิบัติที่
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อยู่เป็นและตายเป็น นวตกรรมสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง และครอบครัว โดย จิรังกูร ณัฐรังสี

รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า........

อะไรที่ทำให้ท่านสามารถเผชิญกับภาวะวิกฤติได้ 10

ถอดบทเรียน ความตายและความรู้สึกที่มีต่อความตาย ต้องแก้โจทย์ให้ได้ว่า ความตายคือรางวัลชีวิตของทุกคน การสิ้นลมหายใจเป็นการจบกระบวนการ ไม่ใช่ทำอย่างไรจึงจะไม่ตายแต่ จะทำอย่างไรจึงจะสามารถ เผชิญความตายได้อย่างมีความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี ?

ถอดบทเรียน ความตายและการจัดการกับความกลัว คิดว่าความตายคือ ความเจ็บปวด ทำให้ไร้ศักดิ์ศรี เป็นภาระคนอื่นและการสูญเสีย สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความกลัว.......... ทำอย่างไรให้ความรู้สึกเหล่านี้หายไปหรือให้มีน้อยที่สุด

ปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์วิกฤตเทียบเคียงทฤษฎี ช็อก - การตอบสนองทาง กลัว อารมณ์เมื่อทราบข่าวร้าย ปฏิเสธ ของบุคคลแต่ละคน เครียด เศร้า - บางคนไม่อาจหลุดพ้น สูญเสีย จากความรู้สึกเหล่านี้

คำสำคัญจากการถอดบทเรียน “อยู่เป็น ตายเป็น” วิกฤติเป็นโอกาสในการเตรียมตัว เสมือนเข้าสู่สนามสอบ เพราะฉะนั้นคำสำคัญ “การเตรียมตัวก่อนตายจึงสิ่งเป็นสิ่งสำคัญ”

องค์ความรู้จากถอดบทเรียน ปฏิกิริยาทางจิตใจของญาติเมื่อทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคร้าย ช็อค ต่อรอง โกรธ รู้สึกผิด ยอมรับ ข้อคิดสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต(9 c) Concern การวางแผนชีวิต Competent ความสามารถ (คลินิค ความรู้ ประสบการณ์) Comfort อำนวยความสะดวก Compassion กรุณา จริงใจ Communication สื่อสาร พูดคุย

องค์ความรู้จากการถอดบทเรียน ข้อคิดสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต Children การดูแลเด็ก ปลอบใจ Cohesion สร้างความผูกพัน Cheefulness สดใส อารมณ์ขัน consistency ความสม่ำสมอ คงเส้นคงวา

ที่มาและความสำคัญ ผลจากการวิจัยการเสริมสร้างความหวัง ความมีคุณค่า การจัดตั้งกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน การสนับสนุนจากมูลนิธิมิตรภาพบำบัด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในศูนย์มะเร็ง(ผู้ป่วย บุคลากร ญาติ)

วัตถุประสงค์ ความตายไม่ใช่เป็นแค่ “วิกฤต” หากยังเป็น “โอกาส” มีทัศนคติต่อความตายในทางบวก ผู้ป่วยมีการวางแผนการดำเนินชีวิตและมีความพร้อมก่อนตาย บุคลากรกล้าสื่อสารและเข้าใจปฏิกิริยา ความตายไม่ใช่เป็นแค่ “วิกฤต” หากยังเป็น “โอกาส”

วิธีการศึกษา สังเกต สัมภาษณ์ การดูแลช่วยเหลือ ทบทวนเอกสาร เปรียบเทียบข้อมูล สกัด องค์ความรู้

ประชากรและ เครื่องมือ ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ๓ คน ผู้ป่วยมะเร็ง และญาติ ๙ คน บุคลากรศูนย์มะเร็งอุบลฯ เครื่องมือ ตัวตนของผู้วิจัยและผู้ถูกวิจัย(ถอดบทเรียน)

ผลการถอดบทเรียน ๑)ความตายและความรู้สึกที่มีต่อความตาย ๒)ความตายและการจัดการกับความกลัว ๓)ปฏิกิริยาทางด้านอารมณ์เมื่อเผชิญข่าวร้าย ๔)ปฏิกิริยาทางจิตใจของญาติเมื่อทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคร้าย ๕)ข้อคิดสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต

ประเมินผลและประโยชน์ ผู้ป่วยและญาติ บุคลากรและผู้สนใจ พิมพ์เผยแพร่เป็นวิทยาทาน

สิ้นสุดการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ ..