อยู่เป็นและตายเป็น นวตกรรมสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง และครอบครัว โดย จิรังกูร ณัฐรังสี
รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า........
อะไรที่ทำให้ท่านสามารถเผชิญกับภาวะวิกฤติได้ 10
ถอดบทเรียน ความตายและความรู้สึกที่มีต่อความตาย ต้องแก้โจทย์ให้ได้ว่า ความตายคือรางวัลชีวิตของทุกคน การสิ้นลมหายใจเป็นการจบกระบวนการ ไม่ใช่ทำอย่างไรจึงจะไม่ตายแต่ จะทำอย่างไรจึงจะสามารถ เผชิญความตายได้อย่างมีความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี ?
ถอดบทเรียน ความตายและการจัดการกับความกลัว คิดว่าความตายคือ ความเจ็บปวด ทำให้ไร้ศักดิ์ศรี เป็นภาระคนอื่นและการสูญเสีย สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความกลัว.......... ทำอย่างไรให้ความรู้สึกเหล่านี้หายไปหรือให้มีน้อยที่สุด
ปฏิกิริยาต่อเหตุการณ์วิกฤตเทียบเคียงทฤษฎี ช็อก - การตอบสนองทาง กลัว อารมณ์เมื่อทราบข่าวร้าย ปฏิเสธ ของบุคคลแต่ละคน เครียด เศร้า - บางคนไม่อาจหลุดพ้น สูญเสีย จากความรู้สึกเหล่านี้
คำสำคัญจากการถอดบทเรียน “อยู่เป็น ตายเป็น” วิกฤติเป็นโอกาสในการเตรียมตัว เสมือนเข้าสู่สนามสอบ เพราะฉะนั้นคำสำคัญ “การเตรียมตัวก่อนตายจึงสิ่งเป็นสิ่งสำคัญ”
องค์ความรู้จากถอดบทเรียน ปฏิกิริยาทางจิตใจของญาติเมื่อทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคร้าย ช็อค ต่อรอง โกรธ รู้สึกผิด ยอมรับ ข้อคิดสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต(9 c) Concern การวางแผนชีวิต Competent ความสามารถ (คลินิค ความรู้ ประสบการณ์) Comfort อำนวยความสะดวก Compassion กรุณา จริงใจ Communication สื่อสาร พูดคุย
องค์ความรู้จากการถอดบทเรียน ข้อคิดสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต Children การดูแลเด็ก ปลอบใจ Cohesion สร้างความผูกพัน Cheefulness สดใส อารมณ์ขัน consistency ความสม่ำสมอ คงเส้นคงวา
ที่มาและความสำคัญ ผลจากการวิจัยการเสริมสร้างความหวัง ความมีคุณค่า การจัดตั้งกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน การสนับสนุนจากมูลนิธิมิตรภาพบำบัด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในศูนย์มะเร็ง(ผู้ป่วย บุคลากร ญาติ)
วัตถุประสงค์ ความตายไม่ใช่เป็นแค่ “วิกฤต” หากยังเป็น “โอกาส” มีทัศนคติต่อความตายในทางบวก ผู้ป่วยมีการวางแผนการดำเนินชีวิตและมีความพร้อมก่อนตาย บุคลากรกล้าสื่อสารและเข้าใจปฏิกิริยา ความตายไม่ใช่เป็นแค่ “วิกฤต” หากยังเป็น “โอกาส”
วิธีการศึกษา สังเกต สัมภาษณ์ การดูแลช่วยเหลือ ทบทวนเอกสาร เปรียบเทียบข้อมูล สกัด องค์ความรู้
ประชากรและ เครื่องมือ ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ๓ คน ผู้ป่วยมะเร็ง และญาติ ๙ คน บุคลากรศูนย์มะเร็งอุบลฯ เครื่องมือ ตัวตนของผู้วิจัยและผู้ถูกวิจัย(ถอดบทเรียน)
ผลการถอดบทเรียน ๑)ความตายและความรู้สึกที่มีต่อความตาย ๒)ความตายและการจัดการกับความกลัว ๓)ปฏิกิริยาทางด้านอารมณ์เมื่อเผชิญข่าวร้าย ๔)ปฏิกิริยาทางจิตใจของญาติเมื่อทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคร้าย ๕)ข้อคิดสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต
ประเมินผลและประโยชน์ ผู้ป่วยและญาติ บุคลากรและผู้สนใจ พิมพ์เผยแพร่เป็นวิทยาทาน
สิ้นสุดการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ ..