ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
ที่มา และแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน ในอารยธรรมไทย – สิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในค่านิยม เกณฑ์คุณค่าของอารยธรรมไทย – สิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ ระหว่างชนชั้นปกครอง กับ ราษฎร – อิทธิพลของแนวคิดสิทธิมนุษยชน สากลต่อประเทศไทย
สิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในค่านิยม เกณฑ์ คุณค่าของอารยธรรมไทย สิทธิมนุษยชน กับ ความเชื่อทางพราหมณ์ สิทธิมนุษยชน กับ พุทธศาสนา สิทธิมนุษยชน กับ สังคมเกษตรกรรม สิทธิมนุษยชน กับ สภาพสังคมแบบชุมชน สิทธิมนุษยชน กับ ท้องถิ่น
สิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น ปกครอง กับ ราษฎร ความสัมพันธ์ในลักษณะ อนาธิปไตย ความสัมพันธ์ในลักษณะ พ่อปกครองลูก ความสัมพันธ์ในลักษณะสมมติเทพ ราชาธิราช ความสัมพันธ์ที่อิงกับหลักทศพิธราชธรรม พรหมวิหาร 4 ความสัมพันธ์ในระบอบสมบูรณายาสิทธิราช ความสัมพันธ์ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมี รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด
อิทธิพลของแนวคิดสิทธิมนุษยชนสากล ต่อประเทศไทย พัฒนาการสิทธิมนุษยชนที่มากับลัทธิจักรวรรดิ นิยม การซึมซับเอาความเชื่อทางศาสนาของตะวันตก การผลักดันให้ประเทศไทยปรับปรุงระบบ กฎหมายให้เป็นอารยะ การรับเอาหลักปรัชญาการเมืองการปกครอง ประชาธิปไตยแบบตะวันตก การสร้างรัฐธรรมนูญโดยยึดเอากฎหมายสิทธิ มนุษยชนระหว่างประเทศเป็นแม่แบบ การอนุวัติกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่าง ประเทศกับกลไกสากล
ปัญหาสิทธิมนุษยชนของประเทศ ไทยที่ต้องฝันฝ่า กรณีการประหัตประหารประชาชนในเหตุการณ์ เดือนตุลา พฤษภาทมิฬ สภาพการดำรงชีวิตของนักโทษเรือนจำ และคุก การละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็นของสื่อมวลชน การทำสงครามกับยาเสพย์ติด และการฆ่าตัด ตอน การแก้ปัญหาความรุนแรงในชายแดนภาคใต้ และทำให้บุคคลสูญหาย การแทรกแซงองค์กรอิสระที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐ การรัฐประหารล้มล้างรัฐธรรมนูญ และ กระบวนการคืนอำนาจสู่ ปชช.