จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
ไข้เลือดออก.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
สรุปผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ประจำปี 2555
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
แนวทางการดำเนินงาน วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตาม ฤดูกาล 2554 จังหวัดอุดรธานี
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
Crisis Management 3C 1I - Commander - Control Center - Communication
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จังหวัดอุดรธานี วันที่ 21 กันยายน 2553

จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1) จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 20 ก.ย. 53 หนองคาย N นายูง 3 อ.ท่าบ่อ สร้างคอม บ้านดุง เลย น้ำโสม 2 เพ็ญ 3 บ้านผือ 8 ทุ่งฝน 6 3 พิบูลย์รักษ์ กุดจับ 5 เมือง หนองหาน 201 4 สกลนคร หนองบัวลำภู หนองวัวซอ กู่แก้ว ไม่มีรายงานผู้ป่วย 8 ก.ประจักษ์ ไชยวาน 4 กุมภวาปี พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ (H1N1) หนองแสง 5 วังสามหมอ 2 ศรีธาตุ โนนสะอาด 1 3 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 258 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย กาฬสินธุ์ ขอนแก่น

ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามวันเริ่มป่วย ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. 53 – 20 ก.ย. 53 = เสียชีวิต มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน จำนวนผู้ป่วย 258 ราย อัตราป่วย 16.80 /ประชากรแสนคน , จำนวนผู้เสียชีวิต 2 ราย ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

แสดงค่าเฉลี่ย 7 วัน ของสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษาในจังหวัดอุดรธานี (สัปดาห์ที่ 1-36) 13.37

จำนวนวันของการส่งรายงาน ILI จำแนกรายสถานบริการ ระหว่าง วันที่ 12-18 ก ที่มา : สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 37 วันที่ 12 – 18 กันยายน 2553

นโยบาย รมต.สาธารณสุข VDO conference 14 Aug.2010 เร่งรัดการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลแก่กลุ่มเสี่ยง หากพบผู้ป่วยให้ยาต้านไวรัสOseltamivirทันที ไม่ต้องกังวลดื้อยา ค้นหาการเจ็บป่วยเป็นกลุ่มก้อน(Cluster) สถานที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก ต้องมีการคัดกรอง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค ให้ประสานและร่วมกับ อปท. ทุกระดับ และ อสม.ครู นร. ค้นหาผู้ป่วย และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทางอย่างเข้มข้นในมาตรการป้องกันควบคุมโรค(ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด)

เสริม ๔ พฤติกรรมป้องกันโรค โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่๒๐๐๙ ๑. ปิด : ปิดปากปิดจมูกอย่างถูกต้องเมื่อไอจาม ๒. ล้าง : ล้างมือบ่อยๆ และทุกครั้งหลังไอ จาม ก่อนรับประทานอาหาร ๓. เลี่ยง : สถานที่เสี่ยง (แออัด ทึบ อากาศไม่ถ่ายเท แสงแดดส่องไม่ถึง) ใกล้ชิดผู้มีอาการป่วย (ไอ จาม ) ๔. หยุด : เมื่อป่วย (หยุดงาน หยุดเรียน หยุดกิจกรรม) เพื่อให้หายป่วยเร็วและไม่แพร่เชื้อให้ผู้อื่น

ดำเนินงาน ๔ มาตรการ ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่๒๐๐๙ รับรู้ : รู้เรื่องโรค รู้สถานการณ์โรค รู้ความเสี่ยงของตนเอง ร่วมเร่ง : การจัดการความร่วมมือทุกภาคส่วนในการป้องกัน ควบคุมโรค ๓. ลดป่วย : สนับสนุนการดำเนินงานของทุกภาคส่วน ๔. ลดตาย : การป้องกันในกลุ่มเสี่ยงป่วยรุนแรง การรักษาเร็ว ได้ยาเร็ว รวมทั้งลดการระบาดเป็นกลุ่มก้อน

สร้างความปลอดภัยใน๔กลุ่มคน จากโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๐๙ วัยเรียน : ทุกระดับชั้น ถึงระดับอุดมศึกษา (เน้นชั้นอนุบาล ประถม) วัยทำงาน : สำนักงาน โรงงาน ฯลฯ วัยอยู่บ้าน : เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : ผู้ป่วยโรคปอด หัวใจ ไต ฯ รวมทั้งกลุ่มเสี่ยง ป่วยรุนแรง เช่น หญิงตั้งครรภ์ ผู้เป็นโรคอ้วน

มาตรการเตรียมความพร้อมและการจัดการ การระบาดไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานี ปี 2553 การเฝ้าระวังโรค เฝ้าระวังอย่างเข้มข้นใน รพ./สอ./รร. และค่ายทหาร สถานประกอบการ เฝ้าระวังผู้ป่วยนอกในกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ใน รพ. ตามระบบ รง. การป้องกันการระบาด สถานที่ที่มีคนรวมตัวกันจำนวนมากเสี่ยงต่อการระบาดได้ง่าย ควรนำคำแนะนำกระทรวงสาธารณสุขกลับมาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น โรงเรียน,โรงงาน และค่ายทหาร การดูแลรักษาผู้ป่วย เน้นแพทย์ทั้งใน รพ. / คลินิก วินิจฉัยและให้การรักษาผู้ป่วยโดยใช้อาการทางคลินิกเป็นหลัก ให้ยาต้านไวรัสโดยเร็ว การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เร่งเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ,รณรงค์ฉีดวัคซีนไข้หวัดฯ ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน

กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง โรคหอบหืดหรือโรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด (ยกเว้น ผู้มีความดันโลหิตสูงอย่างเดียว) โรคที่ทำให้ภูมิต้านทานต่ำ หรือ ได้รับการรักษาที่กดภูมิต้านทาน โรคเอดส์ โรคมะเร็ง โรคไตเรื้อรัง ภาวะความผิดปรกติทางเมตาโบลิซึม เช่น โรคเบาหวาน โรคธาลัสซีเมีย (ไม่รวมผู้เป็นพาหะ)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง หญิงตั้งครรภ์ โรคอ้วน ผู้ใหญ่: BMI=น้ำหนัก (กก.)/ส่วนสูง (ม.)2 >30 (หรือ 40) เด็ก: น้ำหนัก/ส่วนสูง มากกว่าค่ามาตรฐาน 40% เด็กอายุ <18 ปี ที่กำลังกินยาแอสไพรินรักษาโรค เช่น โรคคาวาซากิ รูมาตอยด์ มีความผิดปรกติทางระบบประสาท โรคลมชัก ที่จะทำให้ป้องกันการแพร่เชื้อยาก อายุน้อยกว่า 2 ปี หรือ มากกว่า 65 ปี

กลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า อายุน้อยกว่า 2 ปี หรือ มากกว่า 65 ปี เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และ อยู่ในระดับปรกติจากการรักษา ติดเชื้อ HIV ที่มี CD4 >350/uL โรคระบบประสาทที่ผู้ป่วยรับรู้และดูแลตัวเองได้ดี ไม่มีปัญหาการหายใจและการสำลัก

การรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2553 รอบที่ 1 รณรงค์ 11 ม.ค.-31 พ.ค.53 เป้าหมายวัคซีน 32,960 ราย ผลการให้บริการ 30,517 ราย(92.6%) รอบที่ 2 รณรงค์ 1 ก.ค. – 20 ก.ย.53 เป้าหมายวัคซีน 42,434 โด๊ส ผลการให้บริการ 29,053 ราย(68.46%) กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรทางสาธารณสุขและ ผู้กำจัดซากสัตว์ปีก หญิงตั้งครรภ์ 7 เดือนขึ้นไป เด็กอายุ 6 เดือน-2ปี ทุกคน คนอ้วน น้ำหนักมากกว่า 100 กก. ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน ผู้ป่วยเรื้อรัง 9 กลุ่มโรค ผู้พิการทางสมองช่วยตัวเองไม่ได้ COPD,หอบหืด, หัวใจ, CVA, ไตวาย, เคมีบำบัด, DM,ธาลัสซีเมีย, ภูมิคุ้มกันบกพร่องรวม HIV ที่มีอาการ

ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม – 20 กันยายน 2553 ผลการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี 2553 จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม – 20 กันยายน 2553 ลำดับ หน่วยบริการ เป้าหมาย จำนวน ร้อยละ 1 รพ.โนนสะอาด+สอ 2,166 2,174 100.4 2 รพ.ศรีธาตุ 1,240 1235 99.6 3 รพ.ไชยวาน 1,672 1,606 96.1 4 รพ.ทุ่งฝน 1,384 1,293 93.4 5 รพ.เพ็ญ 3,556 3,292 92.6 6 รพ.หนองหาน 3,244 2,745 84.6 7 รพ.วังสามหมอ 1,948 1,623 83.3 8 รพ.นายูง 836 691 82.7 9 สสจ.อุดรธานี+หน่วยอื่น 1,448 1,182 81.6 10 รพ.อุดรธานี 5,420 3,950 72.9 11 รพ.ร.บ้านดุง 2,612 1,897 72.6 12 รพ.หนองแสง+สอ 812 583 71.8 13 รพ.น้ำโสม 1,496 1,068 71.4 14 รพ.พิบูลย์รักษ์ 652 412 63.2 15 รพ.สร้างคอม 689 406 58.9 16 รพ.บ้านผือ+สอ 3,000 1,653 55.1 17 รพ.นอร์ทอีสเทอร์นวัฒนา 636 275 43.2 18 รพ.กุมภวาปี+สอ 6,392 2,303 36.0 19 รพ.กุดจับ 1,668 413 24.8 20 รพ.หนองวัวซอ 1,563 252 16.1   รวม 42,434 29,053 68.5

Check list บันทึกข้อมูล ILI ทุกวัน ค้นหาผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน(Cluster) ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มเสี่ยง และบันทึก Online สรุปการใช้ยา Oseltamivir ทุกวันพฤหัสฯ บันทึก VMI วัคซีนทุกวันศุกร์ จนกว่าจะหมด ยาต้านไวรัส ทุกวันที่ 25 ของเดือน อุปกรณ์ป้องกัน ทุกวันที่ 25 ของเดือน ประชาสัมพันธ์ ความรู้ การป้องกัน สื่อทุกแขนงในพื้นที่

สวัสดี