งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตั้งค่าวัคซีน.
มติที่เสนอและได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ ใน การประชุมครั้งที่ 1/2552 วันที่ 13 สิงหาคม 2552.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
การติดตามประเมินผล ปี 2552
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
ระบาดวิทยาและ SRRT.
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการรณรงค์ให้วัคซีน dT ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
กำหนดการ – ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR – เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI – แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555 งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555 เรื่องแจ้งเตือน แผนปฏิบัติงาน มาตรฐานการดำเนินงาน แบบประเมินการปฏิบัติงาน แบบประเมินการบริหารจัดการวัคซีน เรื่องเน้นย้ำ รหัสวัคซีน

เรื่องแจ้งเตือน การกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ การเบิกวัคซีนในการรณรงค์ให้วัคซีนเสริมหรือเพื่อการควบคุมโรค การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การรายงาน ความครอบคลุมวัคซีน OPV 3

แผนปฏิบัติงานปี 2555 วัตถุประสงค์ กวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไม่เกิน 1 ต่อพันเด็กเกิดมีชีพรายอำเภอ . ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน รักษาระดับอัตราการเป็นพาหะโรคตับอักเสบบีในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีให้อยู่ในระดับไม่เกินร้อยละ 0.5

ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน คอตีบ ไม่เกิน 0.02 ต่อประชากรแสนคน (0.3) ไอกรน ไม่เกิน 0.08 ต่อประชากร แสนคน (1.2) หัดทุกกลุ่มอายุ ไม่เกิน 5 ต่อประชากร ล้านคนภายในปี 2558 (7.5) โรคไข้สมองอักเสบเจอี ไม่เกิน 0.25 ต่อประชากรแสนคน (3.75)

เป้าหมาย ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบชุด ครอบคลุมร้อยละ 90 รายพื้นที่ (ยกเว้นวัคซีน MMR ให้มีความครอบคลุมร้อยละ 95 เป็นรายพื้นที่) นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีน ร้อยละ 95 รายโรงเรียน

กลวิธีการดำเนินงาน บริการวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายปกติ รณรงค์ให้วัคซีนเสริมในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือการให้วัคซีนเพื่อควบคุม การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง

บริการวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายปกติ แหล่งข้อมูล จากบันทึกการให้บริการวัคซีนในระบบ 18 แฟ้ม ตัวชี้วัดการให้บริการ = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ให้วัคซีนครบชุด x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดในทะเบียนราษฏร์

บริการวัคซีนแก่กลุ่มเป้าหมายปกติ ตัวชี้วัดบริการ ข้อมูลให้บริการวัคซีนกับผู้ที่มารับบริการและประชาชนกลุ่มเป้าหมายของการฉีดวัคซีน(ทั้งในเขตและนอกเขต,ในสถานบริการและนอกสถานบริการ) ลักษณะแฟ้ม แฟ้มบริการและแฟ้มสำรวจ วันที่ให้บริการ,รหัสวัคซีน(031-032-033 ,071,091,092,093,061)สถานที่รับวัคซีน

รณรงค์ให้วัคซีนเสริมในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หรือการให้วัคซีนเพื่อควบคุม พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค คือพื้นที่ที่มีความครอบคลุมวัคซีนแต่ละชนิดครบชุดต่ำกว่าร้อยละ 90 (MMR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95) การให้วัคซีนเพื่อควบคุม ในกรณีเกิดการระบาดของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตัวชี้วัดการให้วัคซีนเสริม = จำนวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีน x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ที่รับผิดชอบที่อาศัยอยู่จริง

การรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายพิเศษ รณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอเสริมในกลุ่มเป้าหมายพิเศษตามที่กระทรวงกำหนด ครั้งที่ 1 วันที่ 14 ธันวาคม 2554 ครั้งที่ 2 วันที่ 18 มกราคม 2555 ตัวชี้วัดการให้วัคซีนโปลิโอเสริม = จำนวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีน x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ที่รับผิดชอบที่อาศัยอยู่จริง

การให้วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัดการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ = จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ให้วัคซีน x 100 จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด ประชากรกลุ่มเสี่ยง ความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 บุคคลากรกลุ่มเสี่ยง ความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

เรื่องเน้นย้ำ วัคซีนที่ต้องให้มากกว่า 1 ครั้ง หากเคยได้รับวัคซีนมาบ้าง แต่ไม่ครบกำหนดนัด สามารถให้วัคซีนต่อได้ทันที โดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่

การให้วัคซีน dT ในหญิงมีครรภ์ ไม่เคยได้ DTP/dT/TT ให้ 3 เข็ม 0,1,6 เดือน จากนั้นกระตุ้นทุก 10 ปี เคยได้ DTP/dT/TT 1 ครั้ง ให้อีก 2 ครั้ง (ห่างเข็ม 1 1 , 6 เดือน) เคยได้ DTP/dT/TT 2 ครั้ง ให้อีก 1 ครั้ง (ห่างจากเข็ม 2 6 เดือน) เคยได้ DTP/dT/TT 3 ครั้ง ให้กระตุ้นทุก 10 ปี (ห่างจากเข็ม3 10 ปี)

การให้ dT /OPV ป.1 จะต้องตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ถ้าไม่มีประวัติหรือประวัติไม่แน่ชัดให้ถือว่าเด็กไม่เคยได้รับวัคซีน เคยได้ DTP/OPV 5 ครั้ง ไม่ต้องให้ dT/OPV เคยได้ DTP/OPV 3 หรือ 4 ครั้ง ให้ dT/OPV อีก 1 ครั้ง เคยได้ DTP/OPV 2 ครั้ง ให้ dT/OPV อีก 1 ครั้ง เคยได้ DTP/OPV 1 ครั้ง  ป.1 ให้ dT/OPV อีก 1 ครั้ง และเมื่อเด็กเรียน ป.2 ติดตาม ให้ อีก 1 ครั้ง เด็กไม่เคยได้รับวัคซีน  ป.1 ให้ dT/OPV 2 ครั้ง (ห่าง>1 เดือน) และเมื่อเด็กเรียน ป.2 ติดตามให้อีก 1 ครั้ง