แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT นิคม กสิวิทย์อำนวย วท.ม ( วิทยาการระบาด สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
SRRT เป็นงานระบาดวิทยาในมิติที่ต้องใช้ความรวดเร็ว ไม่ใช่งานระบาดวิทยาเดิม แต่อาจมีบางส่วนตรงกัน ทีม SRRT เป็นคนละเรื่องกับหน่วยระบาดวิทยา
SRRT เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการตอบสนองต่อเหตุการณ์ ตามข้อกำหนดในกฏอนามัยระหว่างประเทศ การเฝ้าระวังและตอบสนอง ตาม IHR มี 3 ระดับ 1. ระดับชุมชนหรือสาธารณสุขมูลฐาน 2. ระดับกลาง 3. ระดับชาติ
บทบาทของ SRRT ระดับชุมชน. - Detect ตรวจจับเหตุการณ์ บทบาทของ SRRT ระดับชุมชน - Detect ตรวจจับเหตุการณ์ ( ป่วย ตาย ที่ผิดปกติ ) - Report รายงานข้อมูลเบื้องต้นทันที - Implement ควบคุมโรคขั้นต้นทันที ข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็น ได้แก่ อาการ/อาการแสดง ผลLab แหล่งโรคและความเสี่ยง จำนวนผู้ป่วย/ตาย เงื่อนไขที่ทำให้ระบาด มาตรการทางสาธารณสุขที่ดำเนินการ
บทบาท SRRT ระดับกลาง. - Confirm ตรวจสอบยืนยันเหตุการณ์ ที่มีการรายงาน บทบาท SRRT ระดับกลาง - Confirm ตรวจสอบยืนยันเหตุการณ์ ที่มีการรายงาน - Support สนับสนุนหรือดำเนินมาตรการควบคุมเพิ่มเติม - Assess and report ประเมินสถานการณ์ทันที ถ้าเร่งด่วน รุนแรง ให้รายงานต่อไปยังส่วนกลาง
รูปแบบและมาตรฐานทีม SRRT ระดับท้องถิ่น บทบาทหน้าที่ ภารกิจ 1.เฝ้าระวังโรคติดต่อในท้องถิ่น 1. Detect ตรวจจับ เหตุการณ์ ( ป่วย ตาย ที่ผิดปกติ ) 2.หาข่าวและตรวจสอบข่าวการ 2. Report รายงานข้อมูล ระบาดในท้องถิ่น ทันที 3.สอบสวนโรคเบื้องต้น 4.ควบคุมโรคขั้นต้น 3.Implement ควบคุมโรค 5. แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรค ขั้นต้นทันที
รูปแบบและมาตรฐานทีม SRRT ระดับอำเภอ บทบาทหน้าที่ ภารกิจ 1. เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาด 1. Detect ตรวจจับ รวดเร็ว รุนแรง เหตุการณ์ ( ป่วย ตาย ที่ผิดปกติ ) 2. ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทาง 2. Report รายงานข้อมูล สาธารณสุข ทันที 3. สอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 4. ควบคุมโรคขั้นต้น 3.Implement ควบคุม โรคขั้นต้นทันที 5. แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรค
งาน/กิจกรรม ก่อนเกิดโรค - สืบเสาะค้นหา - แจ้งเตือนภัย - กำหนดพื้นที่เสี่ยง - การสร้างเครือข่าย - ประสานงาน - การซ้อมแผน - จัดทำสถานการณ์โรค/ภัยสุขภาพ
งาน/กิจกรรม ระหว่างเกิดโรค - ตรวจจับความผิดปกติ - ตรวจสอบข้อมูล - รายงานแจ้งเหตุตามระบบ - สอบสวน - ร่วมกับ อปท ควบคุมโรคให้ยุติโดยเร็ว - การจัดการที่ดี - ประชุมเพื่อประเมินสถานการณ์
งาน/กิจกรรม หลังเกิดโรค - รายงานสอบสวนโรค - สรุปบทเรียน - แลกเปลี่ยนข้อมูล - ให้ข้อเสนอแนะ