ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
Advertisements

โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
หน่วยที่ 4.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ1
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ2
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
การศึกษารายกรณี.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สมาชิกในกลุ่ม การพัฒนาหรือการดำเนินการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การวางแผนและการดำเนินงาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเรียนรู้แบบโครงการ บูรณาการกระบวนการกลุ่ม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา

ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร เซเลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander. 1974 : 7) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตรหมายถึงการทำหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ ดีขึ้น หรือการจัดทำหลักสูตรขึ้นมาใหม่โดยไม่มีหลักสูตรเดิมเป็นพื้นฐานเลย ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรจะรวมไปถึงการผลิตเอกสารต่าง ๆ สำหรับผู้เรียนด้วย นอกจากคำว่าการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) แล้ว ยังมีคำอื่นที่มีความหมายใกล้เคียงกัน หรือทำนองเดียวกัน หรือแตกต่างกันเพียงรายละเอียดที่ต้องการเน้น เช่น การปรับปรุงหลักสูตร (Curriculum Improvement) การสร้างหลักสูตร (Curriculum Construction) การวางแผนหลักสูตร (Curriculum Planning) การออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร (Curriculum Change) เป็นต้น

ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจึงมีความหมาย 2 แนว ดังนี้ ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจึงมีความหมาย 2 แนว ดังนี้ 1. การปรับปรุงหลักสูตร หมายถึงการปรับปรุงแก้ไข ทีละเล็กละน้อยเรื่อยไป เป็นการปรับปรุงในส่วนปลีกย่อย แต่โครงสร้างส่วนใหญ่ยังคงเดิม 2. การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ขนาดใหญ่มุ่งให้เกิดสิ่งใหม่ในหลักสูตรทั้งหมด หรือเป็นการสร้าง หลักสูตรใหม่

กิจกรรม “ปลูกเรือน” จุดประสงค์กิจกรรมต้องการให้ได้ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร สื่อที่ใช้ ดินน้ำมัน บัตรงาน และใบความรู้ เรื่อง ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรม : แบ่งกลุ่มๆละ 3 คน รับบัตรงาน ในบัตรงานจะอธิบายวิธีการทำกิจกรรม “ปลูกเรือน” วิธีการคือ ให้สมาชิกในกลุ่ม 2 คน สร้างบ้านให้อีกคนหนึ่งอยู่อย่างมีความสุข (สมมติว่าในห้องเรียนมี 3 กลุ่ม)จัดให้กลุ่มที่ 1 สร้างบ้านโดยไม่ต้องถามผู้ที่จะมาอยู่ และให้ผู้ที่จะมาอยู่มารับใบความรู้จากครูไปศึกษา กลุ่มที่ 2 ก่อนลงมือสร้างบ้านให้ถามผู้ที่จะอยู่ว่าชอบบ้านลักษณะไหน แบบใด และให้ผู้ที่จะมาอยู่มารับใบความรู้จากครูไปศึกษา กลุ่มที่ 3 ก่อนสร้างบ้านให้ถามผู้ที่จะอยู่ว่าชอบบ้านลักษณะไหน แบบใด และลงมือช่วยกันสร้างทั้ง 3 คน

กิจกรรม “ปลูกเรือน” (ต่อ) เมื่อสร้างเสร็จแล้วให้ผู้ที่จะมาอยู่บอกว่าชอบหรือไม่ อย่างไร และถ้าไม่ถูกใจ จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง อย่างไร ให้ผู้ที่อ่านใบความรู้สรุปให้เพื่อนๆ สมาชิกทั้งชั้นฟัง ว่า ข้อคิดในการสร้างหลักสูตรมีอะไรบ้าง อย่างไร และมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับเรื่องที่ได้อ่าน สมาชิกที่สร้างบ้านเสนอความคิดเห็นในการทำกิจกรรมครั้งนี้ ครูผู้สอนสรุปเชื่อมโยงกิจกรรม”ปลูกเรือน” กับข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร ประเมินผล : สังเกตพฤติกรรม และการนำเสนอความคิดเห็น

ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบต่างๆ เช่น ความต้องการของสังคมในแง่ผู้ใช้ผลผลิต ความต้องการของสังคมในแง่สิ่งแวดล้อม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ความก้าวหน้าทางวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนาหลักสูตรต้องกระทำให้ครบ 5 ขั้นตอน คือ การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การเลือกและการจัดเนื้อหาวิชาและประสบการณ์ การนำหลักสูตรไปใช้ การประเมินหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตร

ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร (ต่อ) หลักสูตรที่ดีต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับ การบริหารหลักสูตร การจัดแผนการเรียนการสอน วิธีสอนและคุณสมบัติของผู้สอน สถานที่ สื่อการเรียนการสอน หนังสือหรือตำราเรียน ต้องเกิดจากความร่วมมือของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพและเหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน

ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ฝากสุภาษิตไทย ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้นอน

กิจกรรมฝากให้ทำ แบ่ง5กลุ่ม เพื่อวิเคราะห์พื้นฐานที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร ว่ามีทฤษฎีใดบ้าง มีความจำเป็นอย่างไรที่ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจก่อนพัฒนาหลักสูตร (นำเสนอสัปดาห์ที่ 5) พื้นฐานทางปรัชญา(จิตรลดา) พื้นฐานทางสังคม(วีรยุทธ) พื้นฐานทางจิตวิทยา(เพ็ญนี) พื้นฐานทางเศรษฐกิจและการเมือง(บุญเลิศ) การวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการและความจำเป็นของท้องถิ่น (กรณีหลักสูตรท้องถิ่น) (นิติธาร)