สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
Privilege: BOI The Board of Investment of Thailand (BOI)
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
LA 102: Business Law สัญญาซื้อขาย.
รีทส์คืออะไร รีทส์ คือ กองทรัสต์ที่จัดตั้งขึ้น โดยมี
SMART Disclosure Program
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
นำเสนอโดย นางสาวนาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
ภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เงินรายได้แผ่นดิน.
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
ความรู้เบื้องต้นเรื่องภาษี ( TAX)
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
ภาค5.
1 การสัมมนาโต๊ะกลม เรื่อง “ ความตกลงเพื่อการส่งเสริมและ คุ้มครองการลงทุน : เครื่องมือของนักลงทุนไทยใน ต่างประเทศ ” “ สิทธิของนักลงทุน ภายใต้ความตกลงเพื่อการส่งเสริมและ.
การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
เทคนิคการกำกับดูแล : Tax Mapping (แผนที่ทางภาษีอากร)
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
แนวทางการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ Specific Business Tax Planning
การบริการการจัดเก็บภาษีสรรพากร
ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน นายสงวนศักดิ์ เกยุราพันธุ์
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
ทุนส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม
สำหรับกิจการ “สหกรณ์” สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
1. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 218) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้
บทที่ 7 อากรแสตมป์.
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
- เอกสารที่ใช้ในการเพิ่มท้องที่/สถานที่ทำงาน
การปลด cap วงเงิน.
Creative Accounting
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม  Value Added Tax สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3

ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. หลักการภาษีมูลค่าเพิ่ม (1) เป็นภาษีทางอ้อม - สำหรับผู้ประกอบการ กรณีผู้บริโภคนำเข้าสินค้า หรือใช้บริการที่ให้ จากต่างประเทศ – VAT เป็นภาษีทางตรง (2) เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการบริโภคในราชอาณาจักร เว้นแต่การให้บริการนำเที่ยวในต่างประเทศ (3) เป็นภาษีอากรประเมิน (4) จัดเก็บเป็นรายเดือนภาษี (5) สำหรับการค้าระหว่างประเทศ ใช้หลักปลายทาง นำเข้าสินค้า / บริการ VAT 7% ส่งออกสินค้า / บริการ VAT 0% (6) ให้ความสำคัญต่อระบบเอกสาร – ใบกำกับภาษี

2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ “ผู้ประกอบการ” ตามมาตรา 77/1(4) “ผู้นำเข้า” ตามมาตรา 77/1(11) ผู้ที่ออกใบกำกับภาษี โดยไม่มีสิทธิที่จะออกตามกฎหมาย ตามมาตรา 86/13

รายได้ในกรณีดังต่อไปนี้ต้องเสีย VAT หรือไม่ 1. ค่าปรับเนื่องจากผิดสัญญา ดอกเบี้ยจากการผิดนัด 2. กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 3. รางวัล ส่วนลดหรือประโยชน์ใดๆ ทีได้จากการส่งเสริมการขาย 4. การขายสินค้าหรือให้บริการนอกราชอาณาจักร ตอบ ทั้งหมดเป็นรายได้ที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องเสีย VAT (Out of VAT Scope) การโอนทรัพย์สินดังต่อไปนี้ต้องเสีย VAT หรือไม่ 1. บัตรกำนัล 2. บัตรภาษี 3. ทรัพย์สินของกิจการที่ไม่อยู่ในระบบ VAT 4. นาย ก. ขายโคตรเพชรที่ได้มาทางมรดก หรือจากการให้โดย เสน่หา หรือที่ได้จากการทำมาหาได้ของตนเอง ตอบ ทั้งหมดเป็นกิจกรรมที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องเสีย VAT

ผู้ประกอบการ กิจการขนาดย่อม จดทะเบียน VAT 2548 ยกเว้น VAT มาตรา 81/1 30 มิถุนายน 31 พฤษภาคม มีรายได้เกิน 1.8 ล้าน ได้จดทะเบียน VAT ภายใน 30 วันตามมาตรา 85/1 รายได้ที่เกิน 1.8 ล้าน จนถึงวันก่อนวันที่จดทะเบียน VAT ต้องเสีย VAT หรือไม่ ตอบ ไม่ต้องเสีย VAT

ผู้ประกอบการจดทะเบียน N ไม่เคยมีรายได้ในเดือนใด ถึง 300,000 บาท มีหน้าที่ต้องออกใบกำกับภาษี ทุกคราวที่เกิดความรับผิด Y N มีรายได้ต่อคราวไม่เกิน 1,000 บาท ได้รับการผ่อนปรนให้ไม่ต้องออก ใบกำกับภาษีสำหรับรายได้ดังกล่าว แต่เมื่อสิ้นวันทำการให้ออกใบกำกับภาษี สำหรับรายได้นั้น เพื่อบันทึกรายงานภาษีขาย

หน้าที่ของผู้ประกอบการในระบบ VAT 1. จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. ออกใบกำกับภาษีเมื่อเกิดความรับผิด ที่ต้องเสีย VAT 3. จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. คำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม 5. ยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีที่มีภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ 6. ให้ความร่วมมือตามกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม

ขายสินค้าพร้อมให้บริการ เช่น ขายเครื่องจักรพร้อมบริการติดตั้ง ถ้าไม่แยกค่าบริการให้ถือเป็นการขายทั้งจำนวน จึงต้องเสีย VAT เมื่อส่งมอบสินค้า ไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส ถ้าแยกค่าบริการต่างหากจากการขาย โดย 1. แยกรายการให้บริการในใบกำกับภาษีเดียวกัน 2. แยกใบกำกับภาษีต่างหาก ผล ให้คำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส เฉพาะในส่วนของค่าบริการ

ผู้ประกอบการจดทะเบียนผู้เป็นนายจ้างต้องนำ ผู้ประกอบการจดทะเบียนแจกทองให้พนักงานเพื่อเป็นสวัสดิการ ในระบบ VAT ทองถือเป็นสินค้าตามมาตรา 77/1(9) ดังนั้นการแจกถือเป็นการขายสินค้าในระบบ VAT ผู้ประกอบการจดทะเบียนจึงต้องเสีย VAT สำหรับมูลค่าทองคำ ผู้ประกอบการจดทะเบียนผู้เป็นนายจ้างต้องนำ มูลค่าทองคำและค่า VAT มาคำนวณเป็นเงินได้เพื่อคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50(1)

สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3 ภาษีธุรกิจเฉพาะ  Specific Business Tax สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3

ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1. หลักการภาษีเฉพาะ (1) เป็นภาษีทางอ้อม (2) เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการขายสินค้าหรือการให้ บริการชนิดพิเศษที่ไม่อาจหามูลค่าเพิ่มได้โดยง่าย (3) เป็นภาษีอากรประเมิน (4) จัดเก็บเป็นรายเดือนภาษี ภ.ธ.40 (5) กิจการที่ต้องเสีย SBT หรือยกเว้น SBT จะได้รับ ยกเว้น VAT

2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ “ผู้ประกอบกิจการ” ตามมาตรา 91/7 ซึ๋งประกอบกิจการ ตามมาตรา 91/2 - ธนาคารพาณิชย์ - บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ - การประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ - กิจการประกันภัย – ประกันชีวิต 2.5% - กิจการโรงรับจำนำ 2.5% - การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร 3.0% - กิจการแฟคตอริ่ง 3.0% 3.0%

การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไร - ดู พรฎ (ฉ.342) 1. การขาย...ที่ต้องจัดสรรตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน 2. การขายห้องชุดในอาคารชุด – เจ้าของโครงการ 3. การขาย...ที่สร้างขึ้นเพื่อขาย – อาคารพาณิชย์ ทาวน์เฮ้าส์ 4. การขาย...ในลักษณะเดียวกับการจัดสรร - เช่น การขาย...ยกโครงการตาม 1, 2 หรือ 3 5. การขาย...ของนิติบุคคล 6. การขาย...ที่ถือครองไม่ถึง 5 ปี (เฉพาะบุคคลธรรมดา) เว้นแต่ (ก) การขายหรือการถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์     (ข) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก     (ค) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เป็นสถานที่อยู่อาศัยอันเป็นแหล่ง สำคัญที่ผู้ขายมีชื่อ อยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรเป็นเวลา ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี นับแต่วันที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้น ในกรณีที่ที่ดินและอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างตาม

(ค) ได้มาไม่พร้อมกัน กำหนดเวลาห้าปีตามความใน (6) ให้ถือตามระยะเวลาการได้มา ซึ่งที่ดินหรืออาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มาภายหลัง       (ง) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดย ไม่มีค่าตอบแทน ให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมายของตน แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม       ;(จ) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ทาง มรดกให้แก่ทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรมซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม       (ฉ) การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลตามมาตรา 2 แห่งประมวลรัษฎากรโดย ไม่มีค่าตอบแทน       (ช) การแลกเปลี่ยนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ กับส่วนราชการ หรือองค์การของรัฐบาลตามมาตรา 2 แห่งประมวลรัษฎากร เฉพาะใน กรณีที่ส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลนั้นมิได้มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นอย่างอื่น นอกจากอสังหาริมทรัพย์ที่แลกเปลี่ยนนั้น