การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ Watcharanon_j@hotmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
Tacoma Narrowed Bridge
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 15.
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Equilibrium of a Particle
ความหมายและชนิดของคลื่น
Vibration of Torsional Disks
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ Watcharanon_j@hotmail.com

การเคลื่อนที่แบบคาบ (harmonic motion : oscillation) การเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งมีลักษณะแบบซ้ำไปมาที่มีคาบเวลาแนนอนคาหนึ่ง ตัวอยาง การแกวงของลูกตุมนาฬิกา การเคลื่อนที่ของมวลผูกติดกับสปริงที่ปลาย ขางหนึ่งยึดไว การสั่นของสายกีตาร การสั่นของผลึกควอทซในนาฬิกาขอมือ และอื่น ๆ แบงการเคลื่อนที่แบบคาบออกเปน 3 ลักษณะดวยกันคือ 1. การเคลื่อนที่แบบคาบอยางงาย (Simple Harmonics Motion : SHM.) 2. การเคลื่อนที่แบบคาบที่ถูกหนวง (Damped Oscillation) 3. การเคลื่อนที่แบบคาบที่ถูกแรงบังคับ (Forced Oscillation)

การเคลื่อนที่แบบ SHM มีไดกรณีตาง ๆ ดังตอไปนี้

การเคลื่อนที่แบบคาบอย่างง่าย คาบ คือ เวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ แทนดวย T ความถี่ คือ จํานวนรอบตอหนวยเวลา แทนดวยอักษร f ความถี่เปนสัดสวนกลับกับคาบ f = มีหนวยเปนรอบตอวินาที เรียกใหมวาเฮิรตซ (Hz = 1s-1) แอมพลิจูด คือ ระยะกระจัดสูงสุด แทนดวยอักษร A ดังนั้น ระยะกระจัดสูงสุดของการเคลื่อนที่ คือ 2A 1 เฮิรตซ = 1 รอบ/s = 1 s-1 ω = 2  f f = 1 / T

มวล m ถูกแรงจากภายนอกกระทําใหยืดออกไปเปนระยะx จากตําแหนงสมดุลโดยสปริงจะพยายามคืนตัวดวยแรง F = - kx T

การกระจัด ความเร็ว และความเร่งใน SHM วัตถุซึ่งสั่นแบบ SHM ตามแกน x ถ้า t = 0 เฟสเริ่มต้นทำมุม  กับแกน + x ที่เวลา t ใดๆ มุมนี้จะมีค่า  = ωt +  เราจะได้การกระจัด ใน SHM x = A cos(ωt + ) ความเร็ว ใน SHM v = -ω A sin (ωt + ) ความเร่ง ใน SHM a = -ω2 A cos (ωt + )