เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
ชีวเคมี II Bioenergetics.
Introduction to Enzymes
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 5 Colligative property
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
BIOL OGY.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การเสื่อมเสียของอาหาร
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
แนวโน้มของตารางธาตุ.
ENZYME.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
ระบบการผลิต ( Production System )
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
พันธะเคมี.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด จะเร่งปฏิกิริยาได้นั้นต้องรวมกับตัวประกอบ ( Cofactor ) ที่ไม่ใช่โปรตีนจึงจะทำหน้าที่ของมันได้ เช่น วิตามินบี แมกนีเซียมไอออน แคลเซียมไอออน

การเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ถ้าให้ E เป็นเอนไซม์ และ S เป็นสารตั้งต้น (substrate) เกิด P เป็นผลิตภัณฑ์ เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาของเอนไซม์ได้ดังนี้ E + S ES E + P เอนไซม์ สับสเตรต สารเชิงซ้อน เอนไซม์ ผลิตภัณฑ์ โดยทั่วไปเอนไซม์สามารถลดพลังงานก่อกัมมันต์ได้ดีกว่าตัวเร่งปฏิกิริยาอนินทรีย์ จึงทำให้ปฏิกิริยาที่เร่งโดยเอนไซม์จะเกิดขึ้นที่อุณหภูมิต่ำได้

การเรียกชื่อเอนไซม์ เรียกชื่อเอนไซม์โดยเติมคำ -ase ( เ - ส ) หลังชื่อสารที่ถูกเปลี่ยนแปลง เช่น ถ้าสับสเตรต เป็นยูเรีย เอนไซม์ที่เร่งสลายยูเรียด้วยน้ำเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และแอมโมเนีย เรียกว่า ยูรีเอส ( Ureases ) สำหรับเอนไซม์ที่เร่งสลายโมเลกุลของแป้ง ให้เรียกว่า อะไมเลส ( Amylases ) เอนไซม์ที่เร่งการย่อยไขมัน เรียกว่า ไลเปส ( Lipases ) และเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนเรียกว่า โปรตีเอส (Proteases )

สมบัติทางเคมีของเอนไซม์ หมู่ธาตุต่างๆ ที่ทำหน้าที่ในการจับสับสเตรต มีชื่อว่า หมู่ว่องไว ( Active group ) อัตราการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์

เอนไซม์เมื่อจับกับเกิดผลิตภัณฑ์นานๆ เข้า อัตราเร็วของปฏิกิริยาจะเริ่มลดลง เนื่องจากหลายสาเหตุ ดังนี้ 1. จำนวนสับสเตรตลดลง 2. จำนวนผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับมากขึ้น 3. สารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นไปยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ 4. การเปลี่ยนค่า pH 5. การเปลี่ยนแปลงของตัวเอนไซม์เอง

ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ ชนิดของสารที่เอนไซม์ไปควบคุมปฏิกิริยา เอนไซม์แต่ละตัวทำงานเฉพาะสับสเตรตหนึ่งๆ สมบัติเฉพาะตัวนี้ เรียกว่า เอนไซม์เฉพาะ ความเข้มข้นของสับสเตรต เมื่อจำนวนเอนไซม์คงที่ ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของสับสเตรตก็จะทำให้อัตราเร่งของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นถึงจุดหนึ่งแล้วคงที่ ดังกราฟ

กราฟแสดงความเข้มข้นของสับสเตรตกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์

ความเข้มข้นของเอนไซม์ ถ้าสับสเตรตปริมาณหนึ่งๆ นั้นต้องใช้เอนไซม์ปริมาณพอเหมาะเช่นกัน ถ้าเอนไซม์มีปริมาณมากหรือน้อยเกินไปก็จะทำงานได้ผลไม่เต็มที่ ดังกราฟ

ความเป็นกรด - เบส ของสารละลาย ถ้าเปลี่ยน pH เล็กน้อยอาจจะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ลดลงหรือเพิ่มขึ้นได้ เอนไซม์จะทำงานได้ดีที่สุดที่ pH ค่าหนึ่งเท่านั้น ดังกราฟ

อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิมีผลต่อปฏิกิริยาทั้งทางบวกและทางลบอัตราเร็วของการทำงานของเอนไซม์ไม่ได้เพิ่มตามอุณหภูมิเสมอไป แต่จะมีอุณหภูมิหนึ่งเท่านั้นที่เหมาะสม

สารยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์ ( Enzyme inhibitor ) คือสารที่ทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง สารพวกนี้จะไปยับยั้งเอนไซม์ในการจับสับสเตรตให้เกิดปฏิกิริยา

สารกระตุ้น ( Activator ) เอนไซม์บางชนิดต้องการไอออนเป็นตัวกระตุ้น โปรเอนไซม์ ( Proenzymes ) คือ เอนไซม์ที่ยังไม่สามารถออกฤทธิ์ทำงานได้ ต้องมีสารอื่นมากระตุ้นให้เปลี่ยนเป็นเอนไซม์ก่อน โคเอนไซม์ ( Coenzymes ) คือ สารที่ผลิตได้ในนิวเคลียสของเซลล์ มีหน้าที่ช่วยการทำงานของเอนไซม์ บางตัว หรือทำงานร่วมกัน