การวางแผนกำไร (Profit Planning)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Lesson 11 Price.
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
MARKET PLANNING DECISION
Location Problem.
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Computer Applications in Production
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
งบลงทุน Capital Budgeting
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
Financial Management.
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
ความซับซ้อน Complexity Index
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ต้นทุนการผลิต.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผนกำไร (Profit Planning) บทที่ 5 การวางแผนกำไร (Profit Planning) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์เพื่อการวางแผนกำไร การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even Analysis) จุดคุ้มทุน คือจุดที่รายได้รวม (Total Revenues) เท่ากับ ต้นทุนรวม (Total Cost) นั่นคือกิจการสามารถหารายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายผันแปรแล้วเท่ากับต้นทุนคงที่ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ต้นทุนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ต้นทุนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) ต้นทุนผันแปร(Variable Cost) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) คือ ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งมีจำนวนคงที่เสมอ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงตามจำนวนหน่วยที่ผลิตและขาย ดังรูป บาท ต้นทุนคงที่ หน่วย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) คือต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งมีจำนวนเปลี่ยนแปลงตามจำนวนการผลิตและขาย ดังรูป บาท ต้นทุนผันแปร หน่วย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ข้อสมมติฐาน ในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ข้อสมมติฐาน ในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ราคาขายต่อหน่วยคงที่ ไม่ว่าจะขายได้มากหรือน้อยราคาไม่เปลี่ยนแปลง ต้นทุนคงที่ จะไม่เปลี่ยนแปลงตลอดไป ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ ไม่ว่าจะผลิตและขายสินค้าได้มากหรือน้อย จำนวนหน่วยที่ผลิตเท่ากับจำนวนที่ขายในแต่ละงวดเวลา อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การคำนวณจุดคุ้มทุน กำหนดให้ Q = ปริมาณขาย (หน่วย) P = ราคาต่อหน่วย การคำนวณจุดคุ้มทุน กำหนดให้ Q = ปริมาณขาย (หน่วย) P = ราคาต่อหน่วย FC = ต้นทุนคงที่ TR = รายได้รวม V = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย TC = ต้นทุนรวม VC = ต้นทุนผันแปรรวม Q* = ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน TR* = รายได้รวม ณ จุดคุ้มทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ณ จุดคุ้มทุน TR = TC Q x P = FC + VC Q x P = FC + ( Q x V ) QP = FC + QV QP - QV = FC Q ( P – V ) = FC Q* = FC ( P – V ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การคำนวณรายได้ ณ จุดคุ้มทุนโดยใช้กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin) รายได้ ณ จุดคุ้มทุน = ปริมาณ ณ จุดคุ้มทุน x ราคาขาย TR* = Q* x P การคำนวณรายได้ ณ จุดคุ้มทุนโดยใช้กำไรส่วนเกิน (Contribution Margin) กำไรส่วนเกินหมายถึง ผลต่างระหว่างราคาขายกับต้นทุนผันแปรต่อหน่วย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

กำไรส่วนเกิน = ราคาขาย - ต้นทุนผันแปร CM = P - V หรือ TR - VC กำไรส่วนเกิน = ราคาขาย - ต้นทุนผันแปร CM = P - V หรือ TR - VC อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน (Contribution Margin Ratio - CM ratio) CM ratio = P - V หรือ TR - VC P TR อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

ดังนั้น รายได้ ณ จุดคุ้มทุน= ต้นทุนคงที่ อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน ดังนั้น รายได้ ณ จุดคุ้มทุน= ต้นทุนคงที่ อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน TR* = FC CM ratio ถ้าต้องการทราบปริมาณ ณ จุดคุ้มทุน สามารถคำนวณได้ดังนี้ Q* = TR* P อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

การวิเคราะห์ผลการใช้สินทรัพย์หรือเงินทุน (Leverage Analysis) 1. ระดับการใช้สินทรัพย์ดำเนินงาน (Degree of Operating Leverage - DOL) ซึ่งจะบอกให้ทราบว่า เมื่อค่าขายเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งเปอร์เซ็นต์ กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (Earning Before Interest and Tax - EBIT) จะเปลี่ยนไปกี่เปอร์เซ็นต์ DOL = Q(P - V) Q(P – V) - FC อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

DFL = Q(P - V) – FC Q(P – V) – FC – I 2. ระดับการใช้เงินทุน (Degree of Financial Leverage - DFL) จะบอกให้ทราบว่าการดำเนินงานของธุรกิจ ณ ระดับกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีนั้นๆ จะมีกำไรเหลือเป็นส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญหรือไม่ มีความเสี่ยงต่อการขาดทุนหรือมีโอกาสหลุดพ้นการการขาดทุนมากน้อยเพียงใด DFL = Q(P - V) – FC Q(P – V) – FC – I โดยที่ I = ดอกเบี้ย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

3. ระดับการใช้สินทรัพย์ดำเนินงานและการใช้เงินทุน (Degree of Total Leverage - DTL) เป็นการวัดความเสี่ยงรวมของธุรกิจทั้งความเสี่ยงจากการดำเนินงานและความเสี่ยงทางการเงิน ว่าผลของการใช้สินทรัพย์และเงินทุนอยู่ในระดับที่น่าพอใจหรือไม่ สามารถคำนวณได้ดังนี้ DTL = DOL x DFL อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต