การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ชุมชน หมู่บ้านสามพราน หมู่๘ ตำบลอ้อมใหญ่ อ. สามพราน จ.นครปฐม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แนวทางการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2550 รัชนีกร กุญแจทอง นักวิชาการสาธารณสุข 7 ว. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การดำเนินงานเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ในเขตพื้นที่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สกลนครโมเดล.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน” นพ.ธีรยุทธ เจียมจริยาภรณ์ สถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์

จังหวัดกำแพงเพชรมีประชากรรวม 725,961 คน คาดว่าจังหวัดกำแพงเพชร มีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4 ประมาณ 61,706 ราย บุคคลากรดูแลโรคไตที่ ร.พ.กำแพงเพชร อายุรแพทย์ 2 ท่าน พยาบาลดูแลงานโรคไต 4 ท่าน เครื่องล้างไต 6 เครื่อง อำเภอคลองขลุง มีประชากร 73,347 คน

ประสานงานกับภาคีเครือข่าย

การดำเนินงานป้องกันโรคไต 1. สร้างความตระหนักถึงอันตรายของโรคไตให้แก่ประชาชน 2. คัดกรองกลุ่มเสี่ยงและให้การรักษาตั้งแต่ระยะต้น

การกินอาหารเค็มทำให้ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงทำให้เป็นโรคไต ประเด็นสำคัญในการสร้างความตระหนัก “ลดเค็ม” การกินอาหารเค็มทำให้ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงทำให้เป็นโรคไต

อาหารเค็มทำให้ความดันโลหิตสูงเพราะมีเกลือ ซึ่งประกอบด้วย“แร่ธาตุโซเดียม” คนเราได้รับเกลือจาก… กินจากอาหารตามธรรมชาติ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ เครื่องปรุงรสต่างๆ น้ำปลา ซีอิ๊ว กะปิ ปลาร้า ผงชูรส ซุปก้อน มีโซเดียมมากแต่ไม่เค็ม

ปริมาณการบริโภคเกลือเฉลี่ยของประชากรไทย (พ.ศ. 2550-2551) 12.0 กรัมต่อวัน โครงการสำรวจการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย พ.ศ. 2550-2551, กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ที่ถูกต้องคือ ไม่เกิน 6 กรัมต่อวัน

น้ำปลา เกลือ 6 กรัม เท่ากับ น้ำปลา 3 ช้อนชา ข้อแนะนำ คือ กินน้ำปลาไม่เกิน 3 ช้อนชาต่อวัน

อบรม อสม. อำเภอคลองขลุง 1,033 คน

เกมส์ “คุณเค็มแค่ไหน? ”

การดำเนินงานป้องกันโรคไต 2. คัดกรองและให้การรักษาตั้งแต่ระยะต้น โดยบูรณาการระบบสาธารณสุขกับเครือข่ายชุมชน

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร.พ.คลองขลุง 3,554 ราย ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อายุมากกว่า 60 ปี (ข้อใดข้อหนึ่ง) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร.พ.คลองขลุง 3,554 ราย โรคไตระยะที่ 3 : 851 ราย โรคไตระยะที่ 4 : 123 ราย โรคไตระยะที่ 5 : 12 ราย OPD DM, HT ร.พ.คลองขลุง 3,554 ราย CKD stage 3 : 851 cases CKD stage 4 : 123 cases CKD stage 5 : 12 cases BP < 130/80 : 46% 986 ราย (27.7%)

เป้าหมายในการรักษาโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลชุมชน ตัวชี้วัดในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เป้าหมาย 1. ความดันโลหิต < 130 / 80 มิลลิเมตรปรอท > 80 % 2. ใช้ยาลดความดัน ACEI / ARB เพื่อชะลอการเสื่อมของไต 3. ระดับน้ำตาลสะสมในเลือด < 7% 4. รับประทานอาหารที่มี โซเดียม < 2,300 มิลลิกรัมต่อวัน และโปรตีน < 0.8 กรัมต่อน้ำหนักหนึ่งกิโลกรัมต่อวัน แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ. 2552

ทีมปฏิบัติงาน CKD clinic พยาบาล แพทย์ เภสัชกร โภชนากร นักกายภาพ ทีมปฏิบัติงาน CKD clinic

เครือข่ายเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย” เครือข่ายเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง “หนึ่ง รพ.สต หนึ่งเครือข่าย” รพ.สต เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และตรวจสอบการใช้ยา อสม. วัดความดันโลหิต บันทึกรายการอาหารและออกกำลังกาย ผู้ดูแล ปรุงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ช่วยเก็บข้อมูลการรับประทานอาหาร

“ บันได 4 ขั้น ป้องกันโรคไต ” กิจกรรมเยี่ยมบ้าน ประเมินการรับประทานอาหารผู้ป่วย และให้คำแนะนำที่เหมาะสม วัดความดันโลหิต ตรวจสอบการใช้ยา ติดตามการออกกำลังกาย “ บันได 4 ขั้น ป้องกันโรคไต ”

อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง น้ำปลา ไม่เกินวันละ 3 ช้อนชา เนื้อสัตว์ ไม่เกินวันละ 8 ช้อนโต๊ะ

อบรมผู้ป่วยและผู้ปรุงอาหาร

กินอย่างไรให้พอเพียง

แกงส้ม 5 ช้อนโต๊ะ แกงส้ม 5 ช้อนโต๊ะ 2.5

ยาชุดแก้ปวด เภสัชกร ยาล้างไต

ขอบคุณครับ