โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Service Plan สาขา NCD.
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
แผนสุขภาพเขตกลุ่มวัยทำงานDM, HT, IHD Focal point สสจ.ราชบุรี
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

วัตถุประสงค์ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา เพื่อตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนตลอดจนกระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเอง 3. เพื่อกำหนดมาตรการเชิงรุกและบริการที่เหมาะสมแก่กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน(ลดป่วย ลดภาวะแทรกซ้อน ลดตาย ) เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น 5. เพื่อให้มีระบบเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยง

กลยุทธ / มาตรการ 1. กลยุทธ/มาตรการหลัก กลยุทธ / มาตรการ 1. กลยุทธ/มาตรการหลัก 1.1 การพัฒนาระบบบริการ (Individual approach) ก. การตรวจสุขภาพเชิงรุก ข. การให้บริการในสถานบริการ 1.2 การพัฒนาศักยภาพชุมชน (Community approach) โดยใช้ SRM ( Strategic Route Map )

กลยุทธ / มาตรการ 2. กลยุทธ/มาตรการสนับสนุน กลยุทธ / มาตรการ 2. กลยุทธ/มาตรการสนับสนุน 2.1 การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ 2.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชน และทำคู่มือต่างๆ 2.3 การจัดระบบการติดตามประเมินผล เช่น NCD Board 2.4 การจัดระบบฐานข้อมูล

กลุ่มป่วย + ภาวะแทรกซ้อน (Diet Physical Activity Clinic) หน่วย งาน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วย + ภาวะแทรกซ้อน ชุมชน อสม. แนะนำ 3 อ. SRM / ตารางสุขภาพเชิงรุก 3 อ.เข้มข้น แนะนำป้องกันภาวะแทรกซ้อน แนะนำเข้ารับการรักษา สอ./รพ.สต. ตรวจสุขภาพ กิจกรรม 3 อ. SRM คลินิค DPAC (Diet Physical Activity Clinic) good control FCG ( Fasting Capillary Blood Glucose ) ค้นหาข้อแทรกซ้อน ส่งต่อ รพช. - FBS - HbA1C - lipid profile ค้นหาภาวะแทรกซ้อน - MicroalbuminUria - ถ่ายรูป Fundus - ตรวจเท้า - ตรวจหัวใจ รักษาเบื้องต้น เช่น CAPD เครือข่ายกับ รพท. รพท/ รพศ. - ตรวจสุขภาพ - กิจกรรม 3 อ. - SRM - Hb A1C - Micro albumin Uria รักษา / รับ refer CAPD / HD / KT ยิง LASER ตา ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ สมอง ,หัวใจ,เท้า นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

Approach กลุ่มประชาชนทั่วไป 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มเสี่ยงสูง FCG 100 - 125 BP 120/80 – 139/89 ลงทะเบียน 3อ. 2ส. เข้มข้น DPAC กลุ่มปกติ FCG < 100 BP < 120/80 3อ. 2ส. กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต ตีน รักษาโรคและ ภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วย FCG > 126 BP >140/90 รักษาดูHbA1C ค้นหาภาวะแทรกซ้อน ถ่ายภาพจอประสาทตา microalbuminuria ตรวจเท้า

ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ Out put 1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. มีหมู่บ้าน/ชุมชนต้นแบบโครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ 1 รพ.สต. / 1 หมู่บ้าน/(ชุมชน) (9,700 แห่ง)

ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ Out come 1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวานป่วยเป็นโรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ5 หรือลดลงจากฐานข้อมูลเดิมในปี 2553 อย่างน้อยร้อยละ 2 2. อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี 2553 อย่างน้อยร้อยละ 3 3. อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคความดันโลหิตสูงลดลงจากฐานข้อมูลเดิมของจังหวัดในปี 2553 อย่างน้อยร้อยละ 3

เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก] แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.2554-2563 เป้าประสงค์สูงสุด ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภูมิคุ้มกันและศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญได้ เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก] 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ 1] เบาหวาน 2] ความดันโลหิตสูง 3] หัวใจ 4] หลอดเลือดสมอง 5] มะเร็ง 5 ด้าน 1] การเกิดโรค 2] ภาวะแทรกซ้อน 3] พิการ 4] ตาย 5] ภาระค่าใช้จ่าย 3 วิถีชีวิตที่พอเพียง 1] การบริโภคที่เหมาะสม 2] การออกกำลังกายที่เพียงพอ 3] การจัดการอารมณ์ได้ เหมาะสม As previously mentioned about the severity of 5 majors non-communicable chronic diseases, The National Economic and Social health Board Office, Ministry of Public Health, and Institute of Nutrition, Mahidol University together with various agencies at many knowledge-exchange platforms, formulate the long-term “Thailand Health Strategic Plan”, in empowering people, community, society and nation. This will create potential and immunity to prevent emerging health problems rooted from unhealthy lifestyles. Major targeted behavior-related diseases are directed in 4 aspects of reduction: disease, complication, death and expenditure by increasing lifestyle in 2 areas: appropriate consumption and sufficiency physical exercises for balance energy and weight. The plan comprises different phrases of implementation with concrete strategies. ระยะสั้น 1-3 ปี [2554-2556] บูรณาการความคิด สร้างความ เชื่อมั่นและการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายร่วม ระยะกลาง 5 ปี [2554-2558] ปฎิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานที่ มั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ ระยะยาว 10 ปี [2554-2563] สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้าง และระบบการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน Roadmap Strategy นโยบาย สาธารณะ สร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคม และ สื่อสารสาธารณะ การพัฒนา ศักยภาพ ชุมชน การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและ การจัดการโรค การสร้างความ เข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์ 9

ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป คัดกรองเบาหวาน จำนวน (ปี52) ร้อยละ ของผู้คัดกรอง (ปี 53) กลุ่มปกติ 17,861,207 คน ร้อยละ 85 19,092,391 คน ร้อยละ 81.8 กลุ่มเสี่ยง 1,710,521 คน ร้อยละ 8.2 1,577,040 คน ร้อยละ 6.8 กลุ่มเบาหวานรายใหม่ 353,189 คน ร้อยละ 1.7 385,697 คน ร้อยละ 1.7 กลุ่มเบาหวานรายเก่า 1,070,737 คน ร้อยละ 5.1 - กลุ่มเบาหวานมีภาวะแทรก ซ้อน 107,225 คน ร้อยละ 10 ครั้งที่ 1 รับการตรวจเบาหวานทั้งหมด 20,985,133 คน (27 พ.ย.52 – 5 ธ.ค. 52) ครั้งที่ 2 ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 23,044,060 คิดเป็นร้อยละ 86.19 ของประชากรเป้าหมาย (มกราคม 2553 ถึง ธันวาคม 2553 ) ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่พบภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวาน ปี 52 (ร้อยละ) ปี 53 - ตา ร้อยละ 38.5 ร้อยละ 20.0 - เท้า ร้อยละ 31.6 ร้อยละ 18.7 - ไต ร้อยละ 21.5 ร้อยละ 25.8 - สมอง - ร้อยละ 10.9 - หัวใจ ร้อยละ 9.5 ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน (ปี52) ร้อยละ ของผู้คัดกรอง (ปี 53) กลุ่มปกติ 16,601,255 คน ร้อยละ 78.4 16,323,060 ร้อยละ 76.1 กลุ่มเสี่ยง 2,405,741 คน ร้อยละ 11.4 3,726,809 ร้อยละ 17.4 กลุ่มป่วยรายใหม่ 651,867 คน ร้อยละ 3.1 885,705 ร้อยละ 4.13 กลุ่มป่วยรายเก่า 1,509,551 คน ร้อยละ 7.1 - กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน 93,144 คน ร้อยละ 6.2 ครั้งที่ 1 รับการตรวจวัดความดันโลหิตสูง 21,168,414 คน (27 พ.ย.52 – 5 ธ.ค. 52) ครั้งที่ 2 ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 23,044,060 คิดเป็นร้อยละ 86.19 ของประชากรเป้าหมาย (มกราคม 2553 ถึง ธันวาคม 2553 ) ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

ผลการตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่พบภาวะแทรกซ้อน โรคความดันโลหิตสูง ปี 52 (ร้อยละ) ปี 53 - หัวใจ ร้อยละ 26.8 ร้อยละ 20.1 - สมอง ร้อยละ 23 ร้อยละ 12.4 - ไต ร้อยละ 21.8 ร้อยละ 18.3 - ตา ร้อยละ 17.5 ร้อยละ 6.5 ที่มา: การตรวจสุขภาพเชิงรุก โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชนฯ

3.1 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน รายการ ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป 22,664,372 - จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน   12,774,428 56.4% - กลุ่มเสี่ยงสูง ( ระดับน้ำตาล 100 - 125 mg%) 466,516 3.7% - กลุ่มสงสัยรายใหม่  (ระดับน้ำตาล > 126 mg%) 124,439 1.0% จำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายเก่า 1,169,277   มีภาวะแทรกซ้อน  198,157 16.9 % ที่มาข้อมูล: แบบรายงาน NCD 1, ฐานข้อมูล PPIS

3.2 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง รายการ ผลการดำเนินงาน ร้อยละ - จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป 22,664,372   - จำนวนประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง 13,129,014 57.9% - กลุ่มเสี่ยงสูง (120 – 139 และ/หรือ 80-89 mmHg ) 1,451,745 11.1% - กลุ่มสงสัยรายใหม่ (> 140 และ/หรือ > 90 mmHg ) 608,777 4.6% จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายเก่า 1,944,291 มีภาวะแทรกซ้อน  178,198 9.2 % ที่มาข้อมูล: แบบรายงาน NCD 1, ฐานข้อมูล PPIS

จงเชื่อมั่น และทำให้เป็นจริง สวัสดีครับ จงเชื่อมั่น และทำให้เป็นจริง นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 16