เก็บข้อมูลเป็นกลุ่มด้วยอาร์เรย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
Assignment กำหนดส่ง ศุกร์ 12 ก.พ. 2553
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระวิชา คณิตศาสตร์ วันและสัปดาห์
Profile.
Data Type part.II.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
Introduction to computer programming
Array.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
LAB # 5.
ทบทวน Array.
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อาเรย์ (Array).
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การแสดงข้อความ echo - echo “Hello”; // Hello - $text = “ World”;
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ ชื่อ น. ส. พิชชากานต์ ไชยชาญยุทธ์ เลขที่ 22 ชั้นสทส.1/1.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
เรียน ท่านสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย จำกัด
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
การสร้างและใช้งานฟังก์ชั่น
Week 3 Flow Control in PHP
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
Week 12 Engineering Problem 2
Array.
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
อาร์เรย์ (Arrays).
PHP: [7] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ วัน/เวลา
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คำสั่งทำซ้ำ for คำสั่ง for เป็นคำสั่งทำซ้ำในลักษณะ Definite loop คือทราบจำนวนรอบที่แน่นอนในการทำงาน ซึ่งจะใช้ตัวแปร 1 ตัวในการนับจำนวนรอบว่าครบตามกำหนดหรือไม่
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java collection framework
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
เตรียมเงิน/หุ้นให้เพียงพอสำหรับการ Settlement แบบ 2 วันรวมกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เก็บข้อมูลเป็นกลุ่มด้วยอาร์เรย์ บทที่ 8 เก็บข้อมูลเป็นกลุ่มด้วยอาร์เรย์

ชนิดของข้อมูล 1. Scalar Type คือ ตัวแปร 1 ตัวจะเก็บค่าหรือข้อมูลได้ 1 ค่า 2. Compound Type คือ ตัวแปร 1 ตัวจะเก็บค่าหรือข้อมูลได้หลายๆค่า เช่น Array

พื้นฐานเกี่ยวอาร์เรย์ในภาษา PHP สมาชิก (Element) คีย์ (Key) หรือ อินเด็กซ์ (Index) อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 0 1 2 3 4 5 6 Numerically Indexed อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ sun mon tue wed thu fri sat Associative Indexed

การสร้างอาร์เรย์ – แบบ Numeric แบบที่ 1 $weekdays = array("อาทิตย์", "จันทร์", "อังคาร", "พุธ", "พฤหัสบดี", "ศุกร์", "เสาร์"); อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 0 1 2 3 4 5 6

การสร้างอาร์เรย์ – แบบ Numeric แบบที่ 2 $weekdays[0] = "อาทิตย์"; $weekdays[1] = "จันทร์"; $weekdays[2] = "อังคาร"; $weekdays[3] = "พุธ"; $weekdays[4] = "พฤหัสบดี"; $weekdays[5] = "ศุกร์"; $weekdays[6] = "เสาร์"; อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 0 1 2 3 4 5 6

การสร้างอาร์เรย์ – แบบ Numeric แบบที่ 2 อีกแบบ $weekdays[] = "อาทิตย์"; $weekdays[] = "จันทร์"; $weekdays[] = "อังคาร"; $weekdays[] = "พุธ"; $weekdays[] = "พฤหัสบดี"; $weekdays[] = "ศุกร์"; $weekdays[] = "เสาร์"; อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ 0 1 2 3 4 5 6

การสร้างอาร์เรย์ – แบบ Associative แบบที่ 1 $weekdays2 = array("sun" => "อาทิตย์", "mon" => "จันทร์", "tue" => "อังคาร", "wed" => "พุธ", "thu" => "พฤหัสบดี", "fri" => "ศุกร์", "sat" => "เสาร์"); อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ sun mon tue wed thu fri sat

การสร้างอาร์เรย์ – แบบ Associative แบบที่ 2 $weekdays3["sun"] = "อาทิตย์"; $weekdays3["mon"] = "จันทร์"; $weekdays3["tue"] = "อังคาร"; $weekdays3["wed"] = "พุธ"; $weekdays3["thu"] = "พฤหัสบดี"; $weekdays3["fri"] = "ศุกร์"; $weekdays3["sat"] = "เสาร์"; อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ sun mon tue wed thu fri sat

การเข้าถึงสมาชิกของอาร์เรย์ echo $weekdays[1]; อธิบาย access_array.php

การวนลูปเพื่อเข้าถึงสมาชิกอาร์เรย์ foreach (arr_expr as $key => $value) { statement }

ตัวอย่าง การวนลูปเพื่อเข้าถึงสมาชิกอาร์เรย์ $products = array("T0001" => "บล็อคหยอดหมีพูห์", "T0004" => "ตุ๊กตากบสอน ABC", "T0005" => "โต๊ะกิจกรรม", "P0001" => "กระดานลื่นสุขสันต์", "B0001" => "หนังสือมีเสียง: Pooh's Musical Party"); echo '<table border="1" width="100%">'; echo "<tr><th>รหัสสินค้า</th><th>ชื่อสินค้า</th></tr>"; foreach ($products as $key => $value) { echo "<tr><td>{$key}</td><td>{$value}</td></tr>"; } echo "</table>"; loop_through_array1.php

การวนลูปเพื่อเข้าถึงเฉพาะข้อมูลของสมาชิก foreach (arr_expr as $value) { statement }

ตัวอย่าง การวนลูปเพื่อเข้าถึงเฉพาะข้อมูลของสมาชิก $products = array("T0001" => "บล็อคหยอดหมีพูห์", "T0004" => "ตุ๊กตากบสอน ABC", "T0005" => "โต๊ะกิจกรรม", "P0001" => "กระดานลื่นสุขสันต์", "B0001" => "หนังสือมีเสียง: Pooh's Musical Party"); echo '<table border="1" width="100%">'; echo "<tr><th>ลำดับที่</th><th>ชื่อสินค้า</th></tr>"; $i = 1; foreach ($products as $value) { echo "<tr><td>{$i}</td><td>{$value}</td></tr>"; $i++; } echo "</table>"; loop_through_array2.php

การวนลูปเพื่อแก้ไขข้อมูลในอาร์เรย์ $price_list = array("T0001" => 599, "T0004" => 2400, "T0005" => 1690, "P0001" => 9800, "B0001" => 550); echo '<table border="1" width="100%">'; echo "<tr><th>รหัสสินค้า</th><th>ราคาเดิม (บาท)</th></tr>"; foreach ($price_list as $key => $value) { echo "<tr><td>{$key}</td><td>{$value}</td></tr>"; $price_list[$key] = $price_list[$key] * 1.05; } echo "</table><br>"; echo "<tr><th>รหัสสินค้า</th><th>ราคาใหม่ (บาท)</th></tr>"; } echo "</table>"; loop_through_array3.php

อาร์เรย์หลายมิติ (Multi-Dimensional Array) multi_dimensional_array1.php

ฟังก์ชั่นที่ใช้ทำงานกับอาร์เรย์ array_push(อาร์เรย์,ข้อมูลที่จะเพิ่ม) เพิ่มข้อมูลเข้าไปตอนปลายของอาร์เรย์ array_pop(อาร์เรย์) ลบข้อมูลตัวสุดท้ายของอาร์เรย์ array_unshift(อาร์เรย์,ข้อมูลที่จะเพิ่ม) เพิ่มข้อมูลเข้าไปตอนต้นของอาร์เรย์

ฟังก์ชั่นที่ใช้ทำงานกับอาร์เรย์ (ต่อ) array_shift(อาร์เรย์) ลบข้อมูลตัวแรกของอาร์เรย์ ส่งคืนค่าของสมาชิกนั้นกลับมา array_merge (อาร์เรย์ , อาร์เรย์) รวมอาร์เรย์เข้าด้วยกัน แล้วสร้างเป็นอาร์เรยใหม่ เช่น $combined_array=array_merge($fruits,$vegetable);

ฟังก์ชั่นที่ใช้ทำงานกับอาร์เรย์ (ต่อ) array_keys(อาร์เรย์) ให้ค่าเป็น Numberic Array ที่มีข้อมูลเป็นคีย์ของอาร์เรย์ที่กำหนด array_values(อาร์เรย์) ให้ค่าเป็น Numberic Array ที่มีข้อมูลเป็นข้อมูลของอาร์เรย์ที่กำหนด array_function1.php

ฟังก์ชั่นที่ใช้ทำงานกับอาร์เรย์ (ต่อ) sort(อาร์เรย์) เรียงจากน้อยไปหามาก rsort(อาร์เรย์) เรียงจากมากไปหาน้อย โดยทั้งสองอันนี้จะให้ค่าคีย์ในอาร์เรย์ใหม่ เริ่มจาก 0 array_function2.php

ฟังก์ชั่นที่ใช้ทำงานกับอาร์เรย์ (ต่อ) asort(อาร์เรย์) เรียงจากน้อยไปหามาก arsort(อาร์เรย์) เรียงจากมากไปหาน้อย โดยทั้งสองอันนี้จะรักษาค่าคีย์ในอาร์เรย์เดิม

ฟังก์ชั่นที่ใช้ทำงานกับอาร์เรย์ (ต่อ) ksort(อาร์เรย์) เรียงลำดับคีย์ จากน้อยไปหามาก krsort(อาร์เรย์) เรียงลำดับคีย์ จากมากไปหาน้อย โดยทั้งสองอันนี้จะรักษาค่าคีย์ในอาร์เรย์เดิม

งาน 1. lab08_1.php เขียนโปรแกรมแสดงชื่อจริงของเพื่อน จำนวน 5 คน โดยป้อนชื่อเล่น และให้โปรแกรมบอกว่าชื่อจริงอะไร (array) หลักการ เก็บชื่อจริง(ให้เป็นค่า)และชื่อเล่น(ให้เป็นคีย์)

งาน (ต่อ) 2. lab08_2.php จากข้อ lab07_1 จงแก้จากใช้ if มาเป็น array แทน