การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ พญ.สิรินทร ฉันศิริกาญจน หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุไทย ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุและแผนการดูแล สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน พัฒนา อะไร อย่างไร พัฒนาศักยภาพของผู้ให้และผู้รับบริการ พัฒนาความครอบคลุม การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค แนวทางการคัดกรองและตรวจเช็คสุขภาพ การประเมินผู้สูงอายุครบวงจร
ประชากรผู้สูงอายุ คำจำกัดความ องค์การอนามัยโลก > 60 ปี ยุโรปและอเมริกาเหนือ > 65
อายุคาดหวัง (ปี) เมื่อแรกเกิดของประชากรไทย
ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2528 2.8 m = 5.58 % พ.ศ. 2533 3.4 m = 6 % พ.ศ. 2568 10.8 m = 15.7 %
ลักษณะเฉพาะของ ผู้สูงอายุ
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ มีความหลากหลายทั้งในส่วนของ อายุ สภาพร่างกาย ลักษณะจิตใจ พลังสำรอง โรคประจำตัวที่ออกอาการ และแอบแฝง ระดับความรู้ การศึกษา ลักษณะทางสังคม ระดับการพึ่งพิง สภาพครอบครัวและชุมชน อาการทางคลินิกไม่ชัดเจน
นโยบายและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุวัยต่าง ๆ รุ่นเยาว์ 60-75 ปี รุ่นกลาง 75-85 ปี รุ่นใหญ่ > 85 ปี
แบ่งตามการพึ่งพาผู้สูงอายุ ไม่ต้องพึ่งพาเลย – totally independence พึ่งพาบางส่วน – partially dependence พึ่งพาทั้งหมด – totally dependence ติดเตียง – bed ridden
แบ่งตามภาวะสุขภาพ มีโรคเรื้อรังและ/หรือมีภาวะทุพพลภาพ สุขภาพดี มีโรคเรื้อรังและ/หรือมีภาวะทุพพลภาพ หง่อม/งอม/บอบบาง/frail elderly
พึ่งตัวเอง (โรคเรื้อรัง) ลักษณะผู้สูงอายุ พึ่งตนเอง แข็งแรง พึ่งตัวเอง (โรคเรื้อรัง) แต่มีข้อจำกัด เป็นที่พึ่ง เจ็บป่วย บางส่วน ทั้งหมด ตาย พึ่งพา
โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป ดูแลในชุมชน สถานพยาบาล สูงอายุสุขภาพดี เจ็บป่วยเล็กน้อย เฉียบพลัน ฟื้นหาย โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป ที่มีศักยภาพในการ ดูแลผู้สูงอายุ โดยทีมสหสาขาวิชา เจ็บป่วยเรื้อรัง ทุพพลภาพ ระยะสุดท้าย
Health Definition by WHO “ state of complete physical, mental and social well being”
เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อคงความมีสุขภาพดี ค้นพบโรค (กาย/ใจ) ในระยะแรก รักษาถูกต้องทันเวลา ฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้มากที่สุด โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีแม้จะมีโรคเรื้อรัง ให้การดูแลระยะสุดท้ายเพื่อการจากไปอย่างสมศักดิ์ศรี
ปัญหาและโรคที่พบบ่อย ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ตา - ต้อกระจก ต้อหิน หูตึง นอนไม่หลับ
ปัญหาและโรคที่พบบ่อย หลงลืม หลง การเคลื่อนไหวผิดปกติ (โรคพาร์กินสัน) เวียน มึนศรีษะ การทรงตัวไม่ดี
ปัญหาและโรคที่พบบ่อย Service/21_3_46 ปัญหาและโรคที่พบบ่อย ปวด - หลัง เอว - ปวดข้อ ข้อเสื่อม เบาหวาน กระดูกพรุน มะเร็ง
ปัญหาและโรคที่พบบ่อย Service/21_3_46 ปัญหาและโรคที่พบบ่อย การขับถ่าย - อุจจาระ ปัสสาวะ ไขมันในเลือดสูง ขาดอาหาร / ขาดสารอาหาร ซีด
ร้อยละของสาเหตุ ที่ทำให้เกิด ภาวะทุพพลภาพใน ผู้สูงอายุไทย ร้อยละของสาเหตุ ที่ทำให้เกิด ภาวะทุพพลภาพใน ผู้สูงอายุไทย
1 9 2 3 1 8 4 6 7 2 7 8 3 9 6 5 แขนขาอ่อนแรง ความผิดรูปของแขนขา การตัดแขนขา สมองเสื่อม โรคจิต ตาบอดข้างเดียว ตาบอดสองข้าง หูพิการ หูหนวก 1 2 3 4 6 7 8 9
คลินิกผู้สูงอายุ สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน คนไข้แก่ ๆ หมอพยาบาลแก่ ๆ เหมือนกัน รักษาโรคที่มีอยู่ ทำแบบเดิม ๆ (RM) มีโรคใหม่ค่อยจัดการตามลำดับ
Key word: ลดภาวะทุพพลภาพและการพึ่งพิง ป้องกัน ควบคุมความเสี่ยงต่อโรคและรักษาโรคอย่างได้มาตรฐาน
คลินิก ผสอ ในโรงพยาบาลชุมชน/ชุมชน วัตถุประสงค์ ข้อมูลสุขภาพพื้นฐานของผู้สูงอายุ จัดกลุ่มและให้บริการตามที่ต้องการ แบบมีส่วนร่วมและเพื่อคงศักยภาพ เน้นย้ำการสร้างเสริมสุขภาพและการให้วัคซีน ค้นหาโรคที่พบบ่อยขึ้นตามอายุ ให้การรักษาโรคพื้นฐาน
ต้องทำอะไร อย่างไร พัฒนาศักยภาพ พัฒนาความครอบคลุม
สิ่งที่ยังขาดและจะต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วน การประเมินผู้สูงอายุครบวงจร การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค แนวทางการคัดกรองและตรวจเช็คสุขภาพ
เป้าหมายการประเมินสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางกาย สมรรถภาพสมอง ลักษณะทางสังคม ประเมินสมรรถภาพในการทำกิจวัตรต่าง ๆ สภาพโภชนาการ ประวัติการใช้ยา
การคงสุขภาพดี & การสร้างเสริมสุขภาพ เป้าหมาย ? การคงสุขภาพดี & การสร้างเสริมสุขภาพ เป้าหมาย ?
ลดการตาย ลดภาวะทุพพลภาพ
สาเหตุการตายที่สำคัญ(2540) โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อในกระแสเลือด เบาหวาน
อัมพาตครึ่งซีก ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ไขมันในเลือดสูง อ้วน การดำเนินชีวิต เบาหวาน ความเครียด
โรคหัวใจ สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง เหนื่อย อ้วน ถุงลมโป่งพอง ความเครียด การดำเนินชีวิต สิ่งแวดล้อม
การดำเนินชีวิต หกล้ม ขาหัก กระดูกพรุน ปวดหลัง/หลังค่อม
อ้วน ปวดเข่า การดำเนินชีวิต
สมองเสื่อม (จากหลอดเลือด) ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ไขมันในเลือดสูง สมองเสื่อม (จากหลอดเลือด)
พื้นฐานของการดูแล สุขภาพกาย รูปแบบการดำเนินชีวิต อาหาร/โภชนาการสมดุลย์ ( หลอดเลือดดี โครงสร้างมั่นคง ) ความรู้ ปรับสู่การปฏิบัติ อย่าลืมเรื่องฟัน ออกกำลังกาย แปลงรูปแบบตามเป้าประสงค์
รูปแบบการดำเนินชีวิต กระฉับกระเฉง มีส่วนร่วม พึ่งพาตนเองมากที่สุด
ไม่ขาด ไม่เกิน ทั้งปริมาณและคุณภาพ ระวังการโฆษณาเกินจริง โภชนาการ สำคัญสุด ๆ ไม่ขาด ไม่เกิน ทั้งปริมาณและคุณภาพ ระวังการโฆษณาเกินจริง
สิ่งที่ยังไม่ครอบคลุม เจ็บป่วยไม่มากแต่ลำบากในการดำรงชีวิต สิ่งแวดล้อมไม่อำนวย การฟื้นฟูสภาพร่างกายที่สามารถเข้าถึงได้ ขาดผู้ดูแล ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว
บทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข สุขภาพกาย การป้องกันโรค - Primary - Secondary - Tertiary การค้นพบโรคในระยะต้น การคงสภาพและการฟื้นฟูสภาพ สุขภาพจิต สังคม งานอดิเรก ข้อมูล แรงจูงใจ กำลังใจ
การป้องกันโรคและ ทุพพลภาพในผู้สูงอายุ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ ระบบประสาท สมองเสื่อม อัมพาต
ป้องกันโรคและทุพพลภาพในผู้สูงอายุ กระดูกพรุน แผลกดทับ ข้อยึดติด โรคติดเชื้อ วัคซีน
การให้ภูมิคุ้มกันผู้สูงอายุ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนนิวโมคอคคัส วัคซีนบาดทะยัก
การค้นพบโรคในระยะต้น และการรักษา ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ทัยรอยด์ สมองเสื่อม ซึมเศร้า ปัญหาที่เกิดจากยา มะเร็ง เต้านม ปากมดลูก / มดลูก/รังไข่ ลำไส้ใหญ่ ต่อมลูกหมาก
คลินิก ผสอ ในโรงพยาบาลศูนย์ วัตถุประสงค์ ให้การดูแลรักษาและรับส่งต่อในรายที่ซับซ้อน คลินิกเฉพาะโรค เช่น สมองเสื่อม คลินิกโรคข้อ คลินิกการกลั้นปัสสาวะ ศูนย์ฝึกอบรมบุคลากร ผู้ดูแลและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
คลินิก ผสอ ในโรงพยาบาลตติยภูมิและโรงเรียนแพทย์ วัตถุประสงค์ ต้นแบบของการดูแลเชิงรุก เชิงรับ เชิงสนับสนุน ให้การดูแลปัญหาที่สำคัญและซับซ้อน พัฒนาสู่แนวทางการดูแลระดับประเทศ พัฒนาเครือข่ายเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต พัฒนาการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีศักยภาพและคุณภาพชีวิต
Thank you