การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Burden of Disease Thailand, 2009
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง”
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
Thailand Research Expo
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่4
งบประมาณเพื่อการวิจัย ตามวาระการวิจัยแห่งชาติ
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ
บทบาท/บริบทของสถานบริการ ในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ รศ.นพ. ประเสริฐ อัสสันตชัย ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุไทย ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุและแผนการดูแล สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน พัฒนา อะไร อย่างไร พัฒนาศักยภาพของผู้ให้และผู้รับบริการ พัฒนาความครอบคลุม การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค แนวทางการคัดกรองและตรวจเช็คสุขภาพ การประเมินผู้สูงอายุครบวงจร

ประชากรผู้สูงอายุ คำจำกัดความ องค์การอนามัยโลก > 60 ปี ยุโรปและอเมริกาเหนือ > 65

อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรไทย Life expectancy at birth พ.ศ. 2551 69.5 76.3

สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2498 4.8 % พ.ศ. 2528 5.6 % พ.ศ. 2538 7.6 % พ.ศ. 2543 9.3 % พ.ศ. 2553 12 % The National Commission on the Elderly, 2006

ประชากรโลกกำลังเข้าสู่วัยชรามากขึ้นเรื่อยๆ Service/21_3_46 ประชากรโลกกำลังเข้าสู่วัยชรามากขึ้นเรื่อยๆ ประเทศที่พัฒนาแล้ว 8 6 4 2 20 40 60 80 100+ Age Males Females 1999 Percentage of population 2050 The proportion of elderly people and particularly of very elderly people is increasing in industrialized countries. Consequently, because the incidence of hypertension and cardio- and cerebrovascular disease increases considerably with age, the prevalence and burden of these diseases is expected to rise in future years. United Nations 1999

ลักษณะเฉพาะของ ผู้สูงอายุ

ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ RAMPS Reduced body reserve Atypical presentation Multiple pathology Polypharmacy Social adversity

Geriatric Giants - atypical presentation Instability (Fall) Immobility Intellectual impairment Incontinence Inanition Iatrogenesis

นโยบายและการดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุวัยต่าง ๆ รุ่นเยาว์ 60-75 ปี รุ่นกลาง 75-85 ปี รุ่นใหญ่ > 85 ปี

แบ่งตามการพึ่งพาผู้สูงอายุ ไม่ต้องพึ่งพาเลย – totally independence พึ่งพาบางส่วน – partially dependence พึ่งพาทั้งหมด – totally dependence ติดเตียง – bed ridden

แบ่งตามภาวะสุขภาพ มีโรคเรื้อรังและ/หรือมีภาวะทุพพลภาพ สุขภาพดี มีโรคเรื้อรังและ/หรือมีภาวะทุพพลภาพ หง่อม/งอม/บอบบาง/frail elderly

พึ่งตัวเอง (โรคเรื้อรัง) ลักษณะผู้สูงอายุ พึ่งตนเอง แข็งแรง พึ่งตัวเอง (โรคเรื้อรัง) แต่มีข้อจำกัด เป็นที่พึ่ง เจ็บป่วย บางส่วน ทั้งหมด ตาย พึ่งพา

โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป รูปแบบดั้งเดิม ดูแลในชุมชน สถานพยาบาล สูงอายุสุขภาพดี เจ็บป่วยเล็กน้อย เฉียบพลัน ฟื้นหาย โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป ที่มีศักยภาพในการ ดูแลผู้สูงอายุ เจ็บป่วยเรื้อรัง ทุพพลภาพ ระยะสุดท้าย

โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป รูปแบบที่คาดหวัง ดูแลในชุมชน สถานพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป สูงอายุสุขภาพดี เจ็บป่วยเล็กน้อย เฉียบพลัน ฟื้นหาย โรงพยาบาลชุมชน / ทั่วไป ที่มีศักยภาพในการ ดูแลผู้สูงอายุ โดยทีมสหสาขาวิชา เจ็บป่วยเรื้อรัง ทุพพลภาพ ระยะสุดท้าย

Health Definition by WHO “ state of complete physical, mental, social and spiritual well-being”

เป้าหมายการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อคงความมีสุขภาพดี ค้นพบโรค (กาย/ใจ) ในระยะแรก รักษาถูกต้องทันเวลา ฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้มากที่สุด โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีแม้จะมีโรคเรื้อรัง ให้การดูแลระยะสุดท้ายเพื่อการจากไปอย่างสมศักดิ์ศรี

โรคเรื้อรังที่พบบ่อยในคลินิกผู้สูงอายุ Musculoskeletal disorders Osteoarthritis, crystal-induced arthropathy Osteoporosis Atherosclerosis-related disorders Hypertension, Diabetes mellitus, Dyslipidemia Circulatory disorders : stroke, coronary heart disease Neurodegenerative disorders Parkinson’s disease Dementia Delirium Depression

ปัญหาสุขภาพอื่นๆที่พบบ่อย หลงลืม หลง เวียน มึนศรีษะ การทรงตัวไม่ดี ตา - ต้อกระจก ต้อหิน หูตึง นอนไม่หลับ การขับถ่าย - อุจจาระ ปัสสาวะ ขาดอาหาร / ขาดสารอาหาร ซีด มะเร็งต่างๆ

ร้อยละของสาเหตุ ที่ทำให้เกิด ภาวะทุพพลภาพใน ผู้สูงอายุไทย ร้อยละของสาเหตุ ที่ทำให้เกิด ภาวะทุพพลภาพใน ผู้สูงอายุไทย

1 9 2 3 1 8 4 6 7 2 7 8 3 9 6 5 แขนขาอ่อนแรง ความผิดรูปของแขนขา การตัดแขนขา สมองเสื่อม โรคจิต ตาบอดข้างเดียว ตาบอดสองข้าง หูพิการ หูหนวก 1 2 3 4 6 7 8 9

โรคเรื้อรังที่ทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพระยะยาวในคนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2541 Odds ratio AR* Pop.AR** อุบัติเหตุ -- 421 217.2 โรคหลอดเลือดสมอง 16.89 788 190.7 โรคทางตา 1.93 152 182.9 อาการปวดเข่า 1.81 76 179.9 โรคความดันเลือดสูง 1.50 112 166.0 * AR: attributable risk , ** Pop.AR : population attributable risk

คลินิกผู้สูงอายุ สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน คนไข้แก่ ๆ หมอพยาบาลแก่ ๆ เหมือนกัน รักษาโรคที่มีอยู่ ทำแบบเดิม ๆ (RM – repeat medication) มีโรคใหม่ค่อยจัดการตามลำดับ (ตั้งรับ)

สิ่งที่ยังขาดและจะ ต้องพัฒนาอย่าง เร่งด่วน การประเมินผู้สูงอายุครบวงจร การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค แนวทางการคัดกรองและตรวจเช็คสุขภาพ

การประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ physical : ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพทางกาย, สภาพโภชนาการ, ประวัติการใช้ยา mental : สมรรถภาพสมอง social : ลักษณะทางสังคม (ผู้ดูแล สิ่งแวดล้อม เศรษฐานะ) function : ประเมินสมรรถภาพในการทำกิจวัตรต่าง ๆ

การส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุ หลีกเลี่ยงอบายมุขและพฤติกรรมเสี่ยง ออกกำลังกายที่เหมาะสม โภชนาการ สุขภาพจิต มีส่วนร่วมในสังคม ป้องกันโรคเฉพาะที่พบบ่อยในวัยสูงอายุ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคที่ติดเชื้อที่สำคัญในวัยสูงอายุ 7 ด่านที่สำคัญ

ลดการตาย ลดภาวะทุพพลภาพ

ความชุกของโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2541 ความชุกของโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2541 กลุ่มอายุ 60-69 70-79 80-89 > 90 ปวดเข่า 22.9 26.1 20.8 ปวดหลัง 16.5 17.9 17.7 10.4 ความดันโลหิตสูง 14.9 15.0 14.6 6.2 ปัญหาสายตาการมองเห็น 10.2 14.4 16.7 เบาหวาน 10.0 7.0 3.1 2.1 โรคหัวใจขาดเลือด 2.0 4.7 4.2 โรคหลอดเลือดสมอง 1.7 2.2 3.8 ภาวะสมองเสื่อม 1.6 2.4 3.5

สาเหตุการเสียชีวิตในผู้สูงอายุไทยต่อประชากรแสนคน สำนักนโยบายและแผน 2543 60-74 ปี > 75 ปี rate YLL* โรคในระบบไหลเวียนเลือด 574 452567 1936 376946 มะเร็ง 564 461888 897 89321 เบาหวาน 213 178984 348 56542 โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง 209 159142 920 162844 โรคทางเดินอาหาร 114 94674 301 57937 YLL : year of life lost – number of years lost due to premature death

อัมพาตครึ่งซีก ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ไขมันในเลือดสูง อ้วน การดำเนินชีวิต เบาหวาน ความเครียด

โรคหัวใจ สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง เหนื่อย อ้วน ถุงลมโป่งพอง ความเครียด การดำเนินชีวิต สิ่งแวดล้อม

โรคกระดูกพรุนและภาวะกระดูกหัก ลักษณะการดำเนินชีวิต การสะสมมวลกระดูกให้ได้สูงสุดในวัยหนุ่มสาว มวลกระดูกต่ำผิดปกติ หรือ โรคกระดูกพรุน ความชรา การสูญเสียมวลกระดูกมากผิดปกติ กระดูกหัก หมดประจำเดือน ภาวะหกล้มและการบาดเจ็บ โรคต่างๆ และยาที่มีผลต่อกระดูก

โรคกระดูกพรุน (osteoporosis) Service/21_3_46 โรคกระดูกพรุน (osteoporosis) กระดูกปกติ กระดูกพรุน Normal trabecular bone, as shown on the left, appears as a dense network of trabeculae with small spaces. Osteoporotic bone, as shown on the right in a micrograph of postmenopausal osteoporosis, reveals lost bone and minimal trabecular connections. The loss of trabecular struts results in weakened bones and leads to fractures. Dempster DW, Shane E, Horbert W, Lindsay R. A simple method for correlative light and scanning electron microscopy of human iliac crest bone biopsies: qualitative observations in normal and osteoporotic subjects. J Bone Miner Res. 1986;1:15-21. Reproduced from J Bone Miner Res. 1986;1:15-21 with permission of the American Society for Bone and Mineral Research

อ้วน ปวดเข่า การดำเนินชีวิต

สมองเสื่อม (จากหลอดเลือด) ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ ไขมันในเลือดสูง สมองเสื่อม (จากหลอดเลือด)

รูปแบบการดำเนินชีวิต กระฉับกระเฉง มีส่วนร่วม พึ่งพาตนเองมากที่สุด

การตรวจคัดกรองที่เหมาะสมในผู้สูงอายุไทย Atherosclerotic risk factors Common cancers Anemia Nutritional status Hearing and vision Dental problems Dementia Depression Thyroid function Bone mineral density (BMD) Fall risk assessment

ขอบคุณที่ให้ความสนใจ ทนฟังจนจบครับ