การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

1. ประกอบโครงสร้างหุ่นยนต์. (ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
น้ำหนักแสงเงา.
บทที่ 8 Power Amplifiers
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
COE : Microcat.
COE : Microcat.
Device for single – phase ac parameter measurement
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Low-speed UAV Flight Control Phase II
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
PC Based Electrocardiograph
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
เตรียมการก่อนเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์เดินตามเส้น
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
(Exercise for the Elderly)
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ (Projector)
Liquid Crystal Display (LCD)
ระบบกลไก.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก(อี
หุ่นยนต์สุดฮิต 35 แบบ สร้างเองได้ทันที
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
เอสซีอาร์ SCR.
Actuator
Electronics for Analytical Instrument
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Computer graphic.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 5 ขับเคลื่อนหุ่นยนต์ IPST-BOT
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
1. Sequential Circuit and Application
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
Stepper motor.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
บทที่ 6 IPST-BOT กับการหลบหลีก สิ่งกีดขวางแบบสัมผัส
หลักการบันทึกเสียง.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำไมต้องมีการควบคุมด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ? เนื่องจากว่าในการต่อวงจรมอเตอร์โดยตรงนั้นเราไม่สามารถบังคับให้มอเตอร์หยุด หรือเลี้ยวได้ และเมื่อเราต่อเข้ากับตัวตรวจจับ สัญญาณ ที่ส่งออกจากตัวตรวจจับ มีไม่มากพอที่จะไปขับมอเตอร์ได้ ดังนั้นจึงต้องมีตัวขับมอเตอร์ทำหน้าที่ขยายสัญญาณดังกล่าว

การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ * การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ * การควบคุมมอเตอร์ด้วยทรานซิสเตอร์ / หรือ เฟส * การควบคุมมอเตอร์ด้วยIC

การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ การควบคุมแบบใช้รีเลย์จะออกแบบระบบง่ายและสามารถใช้กับมอเตอร์ขนาดใหญ่ได้

การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ การควบคุมแบบใช้รีเลย์จะออกแบบระบบง่ายและสามารถใช้กับมอเตอร์ขนาดใหญ่ได้ การควบคุมแบบใช้รีเลย์แบบใช้งานทั่วไป

การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ การควบคุมแบบใช้รีเลย์สามารถกลับทางหมุนได้

การควบคุมมอเตอร์ด้วยทรานซิสเตอร์ การควบคุมแบบใช้ทรานซิสเตอร์นิยมใช้กันมากเพราะสามารถต่อกับระบบตรวจจับได้โดยตรง

การควบคุมมอเตอร์ด้วย IC L293D IC:PUSH-PULL FOUR CHANNEL DRIVER L297/1 IC: STEPPER MOTOR CONTROLLER L298N IC:DUAL FULL BIRDGE DIRVER L298P IC:DUAL FULL BIRDGE DIRVER LB1836ML-TLM-E IC: BIDIRECTIONAL MOTOR DRIVER MC3PHACVPE IC:3 PHASE AC MOTOR CONTROLLER TCA785 IC:3 PHASE MOTOR DRIVER

การควบคุมมอเตอร์ด้วย IC

การควบคุมมอเตอร์ด้วย IC

การควบคุมมอเตอร์ด้วยIC ตัวอย่างการใช้งาน IC L293D

การควบคุมมอเตอร์ใน Robot 35 in 1

การควบคุมมอเตอร์ใน Robot 35 in 1

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับที่ใช้ใน Robot 35 in 1 มี 3 ชนิดคือ * ตัวตรวจจับแสง( ตรวจจับความสว่าง) จะใช้ตัว LDR * ตัวตรวจจับอินฟาเรท (มีตัวรับ – ตัวส่ง) * ตัวตัวจับเสียง(ตรวจจับความดัง)

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับแสง( ตรวจจับความสว่าง) จะใช้ตัว LDR LDR (Light Dependent Resistor หรือ ตัวต้านทานไวแสง หลักการทำงาน เมื่อมีแสงมาตกกระทบ ความต้านทานจะต่ำลง แต่เมื่ออยู่ในที่ไม่มีแสงค่าความต้านทานจะสูง

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับแสง( ตรวจจับความสว่าง) จะใช้ตัว LDR หุ่นยนต์ที่จะใช้ตัวตรวจจับ LDR คือหุ่นยนต์ประเภทที่ทำงานเกี่ยวกับแสง เช่น หุ่นยนต์กลัวความมืด หุ่นยนต์วิ่งตามเส้น เป็นต้น

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับอินฟาเรท (ตัวรับและตัวส่ง) ตัวส่งอินฟาเรท (ตัวใส) จะทำหน้าที่กำเนิดคลื่นอินฟาเรท เรามักจะเรียกตัวส่งว่า โพโต้ไดโอด ตัวรับอินฟาเรท (ตัวดำ) ตัวมันจะทำงานได้ต่อเมื่อมีแสงอินฟาเรทมากระทบ เรามักจะเรียกตัวรับว่า โพโต้ทรานซิสเตอร์

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับอินฟาเรท (ตัวรับและตัวส่ง) โพโต้ไดโอด โพโต้ทรานซิสเตอร์

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับอินฟาเรท (ตัวรับและตัวส่ง) หุ่นยนต์ที่จะใช้ตัวตรวจจับนี้ คือหุ่นยนต์ประเภทที่ทำงานเกี่ยวกับการสะท้อนวัตถุ เช่น หุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวาง หุ่นยนต์กลัวคน เป็นต้น

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับความดังของเสียง ตัวตรวจจับที่ใช้คือ คอนเด็นเซอร์ไมโครโพน หลักการทำงานคือ เมื่อมีเสียงมากระทบที่ตัวตรวจจับ ตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไฟฟ้าอกมาได้

ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับความดังของเสียง หุ่นยนต์ที่ใช้ตัวตรวจจับแบบนี้ คือ หุ่นยนต์วิ่งตามเสียง หุ่นยนต์กลัวเสียงนกหวีด เป็นต้น

การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ หัวข้อต่อไป การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับกับบอร์ดควบคุม โครงงานหุ่นยนต์ใช้ตัวตรวจจับร่วมกับบอร์ด