การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำไมต้องมีการควบคุมด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ? เนื่องจากว่าในการต่อวงจรมอเตอร์โดยตรงนั้นเราไม่สามารถบังคับให้มอเตอร์หยุด หรือเลี้ยวได้ และเมื่อเราต่อเข้ากับตัวตรวจจับ สัญญาณ ที่ส่งออกจากตัวตรวจจับ มีไม่มากพอที่จะไปขับมอเตอร์ได้ ดังนั้นจึงต้องมีตัวขับมอเตอร์ทำหน้าที่ขยายสัญญาณดังกล่าว
การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ * การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ * การควบคุมมอเตอร์ด้วยทรานซิสเตอร์ / หรือ เฟส * การควบคุมมอเตอร์ด้วยIC
การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ การควบคุมแบบใช้รีเลย์จะออกแบบระบบง่ายและสามารถใช้กับมอเตอร์ขนาดใหญ่ได้
การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ การควบคุมแบบใช้รีเลย์จะออกแบบระบบง่ายและสามารถใช้กับมอเตอร์ขนาดใหญ่ได้ การควบคุมแบบใช้รีเลย์แบบใช้งานทั่วไป
การควบคุมมอเตอร์ด้วยรีเลย์ การควบคุมแบบใช้รีเลย์สามารถกลับทางหมุนได้
การควบคุมมอเตอร์ด้วยทรานซิสเตอร์ การควบคุมแบบใช้ทรานซิสเตอร์นิยมใช้กันมากเพราะสามารถต่อกับระบบตรวจจับได้โดยตรง
การควบคุมมอเตอร์ด้วย IC L293D IC:PUSH-PULL FOUR CHANNEL DRIVER L297/1 IC: STEPPER MOTOR CONTROLLER L298N IC:DUAL FULL BIRDGE DIRVER L298P IC:DUAL FULL BIRDGE DIRVER LB1836ML-TLM-E IC: BIDIRECTIONAL MOTOR DRIVER MC3PHACVPE IC:3 PHASE AC MOTOR CONTROLLER TCA785 IC:3 PHASE MOTOR DRIVER
การควบคุมมอเตอร์ด้วย IC
การควบคุมมอเตอร์ด้วย IC
การควบคุมมอเตอร์ด้วยIC ตัวอย่างการใช้งาน IC L293D
การควบคุมมอเตอร์ใน Robot 35 in 1
การควบคุมมอเตอร์ใน Robot 35 in 1
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับที่ใช้ใน Robot 35 in 1 มี 3 ชนิดคือ * ตัวตรวจจับแสง( ตรวจจับความสว่าง) จะใช้ตัว LDR * ตัวตรวจจับอินฟาเรท (มีตัวรับ – ตัวส่ง) * ตัวตัวจับเสียง(ตรวจจับความดัง)
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับแสง( ตรวจจับความสว่าง) จะใช้ตัว LDR LDR (Light Dependent Resistor หรือ ตัวต้านทานไวแสง หลักการทำงาน เมื่อมีแสงมาตกกระทบ ความต้านทานจะต่ำลง แต่เมื่ออยู่ในที่ไม่มีแสงค่าความต้านทานจะสูง
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับแสง( ตรวจจับความสว่าง) จะใช้ตัว LDR หุ่นยนต์ที่จะใช้ตัวตรวจจับ LDR คือหุ่นยนต์ประเภทที่ทำงานเกี่ยวกับแสง เช่น หุ่นยนต์กลัวความมืด หุ่นยนต์วิ่งตามเส้น เป็นต้น
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับอินฟาเรท (ตัวรับและตัวส่ง) ตัวส่งอินฟาเรท (ตัวใส) จะทำหน้าที่กำเนิดคลื่นอินฟาเรท เรามักจะเรียกตัวส่งว่า โพโต้ไดโอด ตัวรับอินฟาเรท (ตัวดำ) ตัวมันจะทำงานได้ต่อเมื่อมีแสงอินฟาเรทมากระทบ เรามักจะเรียกตัวรับว่า โพโต้ทรานซิสเตอร์
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับอินฟาเรท (ตัวรับและตัวส่ง) โพโต้ไดโอด โพโต้ทรานซิสเตอร์
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับอินฟาเรท (ตัวรับและตัวส่ง) หุ่นยนต์ที่จะใช้ตัวตรวจจับนี้ คือหุ่นยนต์ประเภทที่ทำงานเกี่ยวกับการสะท้อนวัตถุ เช่น หุ่นยนต์หลบหลีกสิ่งกีดขวาง หุ่นยนต์กลัวคน เป็นต้น
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับความดังของเสียง ตัวตรวจจับที่ใช้คือ คอนเด็นเซอร์ไมโครโพน หลักการทำงานคือ เมื่อมีเสียงมากระทบที่ตัวตรวจจับ ตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไฟฟ้าอกมาได้
ระบบตรวจจับสำหรับ Robot 35 in 1 ตัวตรวจจับความดังของเสียง หุ่นยนต์ที่ใช้ตัวตรวจจับแบบนี้ คือ หุ่นยนต์วิ่งตามเสียง หุ่นยนต์กลัวเสียงนกหวีด เป็นต้น
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ หัวข้อต่อไป การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับกับบอร์ดควบคุม โครงงานหุ่นยนต์ใช้ตัวตรวจจับร่วมกับบอร์ด