มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี อ. เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี 153-301 Engineering Economy
วัตถุประสงค์การเรียน (Learning Objectives) 1. มีความรู้ความเข้าใจถึงการใช้ มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี และสูตรประยุกต์ต่างๆเพื่อตัดสินใจเลือกทางเลือกของโครงการต่างๆ 153-301 Engineering Economy
เนื้อหาในบทนี้ (Chapter Contents) 6.1. การเปรียบเทียบโครงการด้วยวิธีมูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี 153-301 Engineering Economy
6.1. การเปรียบเทียบโครงการด้วยวิธีมูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี การเปรียบเทียบโครงการด้วยวิธีมูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี Aw(Annual worth) เป็นอีกวิธีที่นิยมใช้ในการเปรียบเทียบโครงการ ทางเลือกต่างๆ วิธี Aw นี้คือการแปลงค่าต่างๆในกระแสเงินสดให้เป็นเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปีในช่วงเวลาเดียวกัน ข้อดีของการเปรียบเทียบโดยวิธีค่าเทียบเท่าเท่ากันรายปี คือ สะดวกและรวดเร็วกว่าเนื่องจากสามารถเปรียบเทียบโครงการ ทางเลือกได้โดยไม่จำเป็นต้องมีอายุของโครงการเท่ากัน อีกประการหนึ่งคือ การคิดค่าใช้จ่าย และรายได้โดยปกติต้องทำงบดุลบัญชีเป็นรายปีอยู่แล้ว และ ความคุ้นเคยต่อค่าใช้จ่ายต่างๆ หรือรายรับเป็นรายปี จึงสามารถวางแผนการใช้จ่ายและการหารายได้ได้ชัดเจนกว่าวิธีอื่น 153-301 Engineering Economy
Aw by the salvage sinking-fund method การคำนวณเปรียบเทียบในบทนี้มีสูตรที่เพิ่มเติมที่สร้างจากสูตรพื้นฐาน ที่สามารถคำนวณได้เหมือนกันมีดังต่อไปนี้ Aw by the salvage sinking-fund method Aw by the salvage present worth method Aw by the capital recovery plus interest method 153-301 Engineering Economy
ตัวอย่างที่ 6.1 จงหามูลค่าเทียบเท่าเท่ากันรายปี(ต่อเดือน) ของเครื่องยนต์ที่มีค่าลงทุนเริ่มต้น 38,000 บาท และค่าดำเนินการรายเดือน มูลค่าซาก 11,000 บาท หลังจาก 4 ปี ที่อัตราดอกเบี้ย 9% ต่อปีทบต้นรายเดือน ใช้ The salvage sinking fund method. 153-301 Engineering Economy
ตัวอย่างที่ 6.2 จงหามูลค่าเทียบเท่าเท่ากันรายปี(ต่อเดือน) ของเครื่องยนต์ที่มีค่าลงทุนเริ่มต้น 38,000 บาท และค่าดำเนินการรายเดือน มูลค่าซาก 11,000 บาท หลังจาก 4 ปี ที่อัตราดอกเบี้ย 9% ต่อปีทบต้นรายเดือน ใช้ The salvage present worth method. 153-301 Engineering Economy
ค่าเครื่องจักรและค่าใช้จ่ายเริ่มต้น(P) 2,500 3,500 ตัวอย่างที่ 6.3 จงเปรียบเทียบและเลือกเครื่องจักรที่ใช้งานได้เหมือนกัน ซึ่งมีค่าใช้จ่ายดังแสดงตามตารางต่อไปนี้ โดยพิจารณาที่อัตราดอกเบี้ย 10% เปรียบเทียบโครงการด้วยวิธีมูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี แบบ A แบบ B ค่าเครื่องจักรและค่าใช้จ่ายเริ่มต้น(P) 2,500 3,500 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน(AOC) 900 700 ค่าซากเมื่อหมดอายุ(SV) 200 350 อายุการใช้งาน(ปี) 5 หน่วยเป็น : พันบาท 153-301 Engineering Economy
ค่าเครื่องจักรและค่าใช้จ่ายเริ่มต้น(P) (บาท) 44,000 23,000 ตัวอย่างที่ 6.4 (โจทย์เหมือนกับตัวอย่าง 5.2) จงเปรียบเทียบและเลือกเครื่องจักรที่ใช้งานได้เหมือนกัน ซึ่งมีค่าใช้จ่ายดังแสดงตามตารางต่อไปนี้ โดยพิจารณาที่อัตราดอกเบี้ย 12% โดยวิธีมูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี แบบ A แบบ B ค่าเครื่องจักรและค่าใช้จ่ายเริ่มต้น(P) (บาท) 44,000 23,000 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน(AOC) (บาท) 7,000 9,000 ค่าซ่อมบำรุง (บาท) 210 350 ค่าซ่อมใหญ่ทุกๆ 2 ปี - 1,900 ค่าซ่อมใหญ่ทุกๆ 5 ปี 2,500 ค่าซากเมื่อหมดอายุ(SV) 4,000 3,000 อายุการใช้งาน(ปี) 14 7 153-301 Engineering Economy
ถ้าอัตราดอกเบี้ยเป็น 12% ต่อปี จะเลือกโครงการแบบไหน ตัวอย่างที่ 6.5 โรงงานเยลลี่ผสมบุกมีน้ำเสียออกจากกระบวนการผลิต จึงจำเป็นต้องทำโครงการขจัดน้ำเสียก่อนปล่อยสู่ภายนอก โดยฝ่ายวางแผนและพัฒนาของบริษัทได้กำหนดแนวทางไว้ 3 ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพเหมือนกันมีดังต่อไปนี้ โดยใช้วิธีมูลค่าเทียบเท่าเท่ากันรายปี แบบ ก. ตั้งโรงบำบัดน้ำเสียแบบสมบูรณ์ ลงทุน 3,000,000 บาท อายุการใช้งาน 10 ปี ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ 20,000 บาทต่อปี และต้องซ่อมครั้งใหญ่ในปีที่ 4 และ ปีที่ 7 ซ่อมครั้งละ 400,000 บาท แบบ ข. ตั้งโรงบำบัดน้ำเสียชั่วคราวลงทุน 700,000 บาท มีอายุการใช้งาน 8 ปี เสียค่าซ่อมแซมทุกๆปี ปีละ 200,000 บาท และค่าดำเนินการอีกปีละ 50,000 บาท แบบ ค. ขจัดน้ำเสียเท่าที่จะทำได้ก่อนเป็นเวลา 3 ปี จึงจะยอมตั้งโรงงานขจัดดังนั้น 3 ปีแรกค่าใช้จ่าย 550,000 บาทต่อปี ปีที่3 เสียอีก 1,000,000 บาท ค่าดำเนินการ 30,000 บาทต่อปี ในอีก 7 ปี ถ้าอัตราดอกเบี้ยเป็น 12% ต่อปี จะเลือกโครงการแบบไหน 153-301 Engineering Economy
ตัวอย่างที่ 6.6 จงเปรียบเทียบทางเลือกโดยใช้วิธีมูลค่าเทียบเท่าเท่ากันรายปี พิจารณาที่อัตราดอกเบี้ย 8% ดัชนี k อยู่ในช่วง 1 – 10 ปี แบบ G แบบ H ค่าเครื่องจักรและค่าใช้จ่ายเริ่มต้น(P) (บาท) 40,000 300,000 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน(AOC) (บาท) 5,000 – 100(k-2) 1,000 ค่าซากเมื่อหมดอายุ(SV) 8,000 50,000 อายุการใช้งาน(ปี) 10 153-301 Engineering Economy