โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
การดำเนินการของลำดับ
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
สับเซตและเพาเวอร์เซต
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
จำนวนเชิงซ้อน โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Function and Their Graphs
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
อสมการ (Inequalities)
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
Electrical Engineering Mathematic
วงรี ( Ellipse).
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 WELCOME TO M A T H E M A T I C S โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

จำนวนเชิงซ้อน สร้างขึ้นเพื่อให้ตอบคำถามสมการประเภทที่ไม่มีคำตอบในระบบจำนวนจริงเช่น x2+1 = 0 บทนิยาม จำนวนเชิงซ้อน คือจำนวนที่อยู่ในรูปของคู่อันดับ (a , b) เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใดๆ มีการเท่ากัน การบวกและการคูณของจำนวนเชิงซ้อนเป็นดังนี้ 1. การเท่ากัน (a , b) = (c , d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d 2. การบวก (a , b) + (c , d) = (a+c , b+d) 3. การคูณ (a , b)(c , d) = ( , ) ad - bc ac + bd

จำนวนเชิงซ้อนกับจำนวนจริง แทนจำนวนจริง x ด้วยจำนวนเชิงซ้อน (x , 0) ดังนั้นจะได้ว่า เซตจำนวนของจำนวนจริงเป็นสับเซตของจำนวนเชิงซ้อน และจำนวนเชิงซ้อน (a , b) เมื่อ b = 0 ก็คือ จำนวนจริง a นั่นเอง จำนวนเชิงซ้อน (a , b) เมื่อ b ไม่เท่ากับ 0 เรียกว่าจำนวน จินตภาพ จำนวนเชิงซ้อน (0 , b) เมื่อ b ไม่เท่ากับ 0 เรียกว่าจำนวน จินตภาพแท้ จำนวนเชิงซ้อน (1 , 0) แทนด้วย i จะได้ i2 = (1 , 0)(1 , 0) = ( , 0 ) = -1 -1

การเขียนจำนวนเชิงซ้อนในรูป a+bi เนื่องจาก (a , b) = (a , 0) + (0 , b) และ (0 , b) = (b , 0)(0 , 1) = bi ดังนั้น (a , b) = a + bi โดยเรียก a ว่า ส่วนจริง และเรียก b ว่า ส่วนจินตภาพ การบวก (a + bi) + (c + di) = + i (a + c) (b + d) การคูณ (a + bi)(c + di) = + i (ac - bd) (ad + bc)

จงหาผลบวกของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ จงหาผลคูณของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ แบบฝึกทักษะ จงหาผลบวกของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ 1. (1 , 2) และ (-5 , 1) 2. (7 , 5) และ (-7 , -5) 3. (12 , 8) และ (-6 , -8) จงหาผลคูณของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ 1. (1 , 3) และ (-2 , 3) 2. (2 , -3) และ (4 , 5) 3. (3 , 0) และ (0 , 1)

จงหาผลบวกของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ จงหาผลคูณของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ แบบฝึกทักษะ(ต่อ) จงหาผลบวกของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ 1. 2 + i และ -5 + 2i 2. 3 - 9i และ -3 + 12i 3. 6 - 8i และ 8i จงหาผลคูณของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ 1. 1 + 3i และ -2 + i 2. 3 + i และ -2 + i 3. -2 + 3i และ 4 - 2i

ประวัติผู้จัดทำ นายพงศกร ละฟู่ นายพงศกร ละฟู่ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศศ.บ. (คณิตศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 1