ประชาคมอาเซียน กับ มหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ สัมมนาเจ้าหน้าที่ประจำปี การศึกษา 2555 วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ. ศ. 2555 ณ John XXIII Conference Center 15.45.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
Advertisements

คำสำคัญที่ต้องขับเคลื่อน
แรงผลักดัน ความท้าทายและเส้นทางสู่ความสำเร็จ
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
From Change to Forward.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
จิบน้ำชา สายวิชาการ 24 ม.ค. 55
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
การคิดเพื่อความสำเร็จในชีวิต
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
Evaluation of Thailand Master Plan
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โรงเรียนคุณภาพ สพท.ชัยภูมิ เขต 3
1 กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อ ยุคไอที โดย รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาต่างประเทศ ( นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต ) 7 สิงหาคม 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชาคมอาเซียน กับ มหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ สัมมนาเจ้าหน้าที่ประจำปี การศึกษา 2555 วันเสาร์ที่ 18 สิงหาคม พ. ศ ณ John XXIII Conference Center – hrs

1.“ การปรับแนวคิดของบุคลากรเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ” ดร. ชวลิต หมื่นนุช 2. “ ทิศทางของสายวิชาการในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนและสิ่งที่ต้องการได้รับ จากสายสนับสนุน ” ดร. สมพิศ ป. สัตยารักษ์ 3.“ นโยบายของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญต่อ ประชาคมอาเซียน ” และ พิธีปิด

“ ถ้าอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ภายในองค์กร เกิดขึ้นได้ช้าหรือ น้อยกว่าอัตราการเปลี่ยนแปลง ภายนอก ย่อมหมายความว่า จุดจบ ขององค์กรได้เริ่มขึ้นแล้ว ” (CEO Jack Welch)

โลกในศตวรรษที่ 21 สิ่งที่ผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโลก นี้คือ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก (Climate Change) 2. การสื่อสารและการคมนาคม (IT, ICT) 3. การเปลี่ยนแปลงของประชาคมโลก (Demographics) สิ่งเล็กๆ น้อยๆ การรักษาสิ่งแวดล้อม ( การสร้างดุลย์ของ สิ่งแวดล้อม ) - แผ่นดินไหว ซึนามิ พายุ น้ำท่าม ฯลฯ การก่อการร้าย

10 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุด ในโลก ปี 2011 ปี สหรัฐอเมริกา 6. อังกฤษ 1. จีน 8. อังกฤษ 2. จีน 7. บราซิล 2. สหรัฐอเมริกา 9. ฝรั่งเศส 3. ญี่ปุ่น 8. อิตาลี 3. อินเดีย 10. เม็กซิโก 4. เยอรมัน 9. อินเดีย 4. ญี่ปุ่น 11. อิตาลี 5. ฝรั่งเศส 10. รัสเซีย 5. บราซิล 12. เตอกีร์ 6. รัสเซีย 13. เกาหลี 7. เยอรมัน Source: Goldman Sachs

โอกาส 1. เป็นศูนย์กลางทาง ภูมิศาสตร์ 2. ศักยภาพของคน ไทย 3. มีเศรษฐกิจดี 4. มีทรัพยากรที่ดี 5. มีองค์ประมุขที่ดี

สิ่งที่ท้าทาย 1. รัฐธรรมนูญ 2. การศึกษา 3. น้ำท่วม 4. ยาเสพย์ติด 5. ความยากจน ฯลฯ

สิ่งที่เราต้องเตรียม ความพร้อม การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ. ศ กระแสบูรพาภิวัฒน์ กระแสโลกาภิวัตน์

วัฒนธรรมคือ อะไร ? ความเชื่อถือ วิถีทางชีวิต ( การใช้ ชีวิตประจำวัน ) ศิลปะและประเพณีต่างๆ ที่ ชนในชาติยอมรับ และนำไปปฏิบัติ ตัวอย่างเช่น : การแต่งกาย เครื่องนุ่งห่ม ภาษา อากัปกิริยา ความเป็นอยู่ ( การกิน ที่อยู่อาศัย ) ศิลปะ ศาสนา

วิสัยทัศน์ของ AU ส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย มีเขียนไว้ว่า... “ การเป็นสังคมนานาชาติของผู้ทรง ปัญญาและความรู้,...” “an international community of scholars,... ”

เหลียวหลัง มองย้อนอดีต 1. พิจารณาดูการทำงานในอดีต 2. ดูระบบการทำงาน 3. มีการเปลี่ยนแปลงในด้าน ใดบ้าง

1. มีลักษณะนิสัย / ความรู้พื้นฐานที่ AU ต้องการ ขยัน ทำงานร่วมกับคนอื่นได้อย่างดี มีบุคลิกภาพดี 2. รู้จักการใช้ภาษาอังกฤษขั้น พื้นฐาน 3. รู้จักการใช้คอมพิวเตอร์ในงานที่ ทำ การรับบุคลากรเข้า ทำงาน

สิ่งที่มหาวิทยาลัยต้องการ จากพวกเรา 1. มีทักษะในการทำงานเป็นระบบ / มี คุณภาพ 2. การรู้จักแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการให้บริการตาม มาตรฐานสากล 4. รู้จักพัฒนาทักษะและงานตามความ เปลี่ยนแปลง 5. พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อนำมาใช้งาน

1. รู้จักสรรหาคนที่เหมาะสม 2. ดูความคุ้มค่าของหน่วยงาน 3. มีการประเมินคน โดยดูที่ผลงาน 4. มีการหมุนเวียนสับเปลี่ยนหน้าที่งาน 5. มีการพัฒนาคน และพัฒนางานตามความ เหมาะสม 6. พัฒนาระบบข้อมูล นโยบายของ หน่วยงาน

สิ่งที่ต้องนำไปปฏิบัติ 1. ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน - สร้างจิตสำนึก ความเข้าใจ รู้จักบทบาทของหน่วยงานและบทบาทของตนเองในเรื่องของประชาคมอาเซียนของ ไทย 3. ปรับรูปแบบของการทำงานให้เหมาะกับศตวรรษที่ 21 การใช้ IT อย่างเหมาะสม ( ไม่ใช่เน้นที่จำนวนคนในหน่วยงาน เน้นที่ผู้รับบริการ ) รู้จักทำงานแบบร่วมมือประสานงานทั้งภายในและภายนอก รู้ขีดความสามารถของตนเองและของหน่วยงาน ( สามารถบอกได้ว่า งานชิ้นหนึ่ง ใช้เวลานานเท่าใด ) สร้างความคิดริเริ่มจากหน่วยงาน ( สามารถเสนอการเปลี่ยนแปลง หลังจากได้ ศึกษามาอย่างดี ) 4. สร้างระบบข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อสนองตอบต่อความต้องการภายใน ภายนอก และการพัฒนาหน่วยงานของตนเอง

นโยบาย “ สร้างความพร้อม และความ เข้มแข็งของบุคลากร เพิ่ม ขีดความสามารถและ สมรรถนะในการทำงาน ทักษะในชีวิต และสร้าง ลักษณะนิสัย เหมาะสมกับ โลกในศตวรรษที่ 21”

Conclusion “ A simple flame passed hand to hand, not by the fastest or the strongest. But by people whose greatest gift is what they give of themselves. Because, it’s not just what you do for the record books, it’s what you do for others.” (The Vision of the Olympic Torch Relay, Singapore 2010 Youth Olympic Games)