กระชุ่มกระชวย (ค.ศ.1986-1995) (พ.ศ. 2529-2538) กระชุ่มกระชวย (ค.ศ.1986-1995) (พ.ศ. 2529-2538) การเมืองไทยเริ่มเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น แต่ก็ยังลุ่มๆดอนๆ ปลายยุคของนายกฯ เปรม ติณสูลานนท์ ต่อด้วยนายกฯ ชาติชาย ชุณหวัณ (จากการเลือกตั้ง) พฤษภาทมิฬ 1992 (พ.ศ. 2535)
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นายกฯ อานันท์ ปัณยารชุน (1) นายกฯ สุจินดา คราประยูร นายกฯ อานันท์ ปัณยารชุน (2) นายกฯ ชวน หลีกภัย (1) (เลือกตั้ง) นายกฯ บรรหารศิลปอาชา (เลือกตั้ง) นายกฯ ชวลิต ยงใจยุทธ (เลือกตั้ง)
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด : เฉลี่ย 9% ต่อปี (เกินปีละ 10% ใน 1988 -90) ราคาน้ำมันโลกลดฮวบในปี 1986 การขาดดุลและอัตราเงินเฟ้อลดลงด้วย
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) อัตราดอกเบี้ยโลกลดลง บรรเทาภาระการจ่ายคืนหนี้ต่างประเทศ เงินเยนญี่ปุ่นเพิ่มค่า (Plaza Accord ใน 1985) เงินลงทุนไหลทะลักจากญี่ปุ่นและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (Newly Industrializing Economies หรือ NIEs)
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมสูงขึ้นมาก + รายได้จากการท่องเที่ยวและแรงงานไทยในต่างประเทศ + มูลค่านำเข้าน้ำมันลดลง ลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจนถึงปี 1989 แต่ขาดดุลเพิ่มขึ้นอีกภายหลัง
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” โดยอาศัยเงินกู้และความช่วยเหลือจากธนาคารโลกและ IMF: ส่งเสริมการส่งออก (โดยเฉพาะสินค้าอุตสาหกรรม) และการลงทุนในต่างจังหวัด
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” : วินัยการคลังและการควบคุมการก่อหนี้ การลดอัตราภาษีนำเข้า การลดเงินอุดหนุนราคาน้ำมันและการลอยตัวราคาน้ำมัน
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” : การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การขายหรือยุบกิจการ (เช่น โรงกระสอบ) การขายหุ้นบางส่วนในตลาดหลักทรัพย์ (เช่น การบินไทย)
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) นโยบาย “ปรับโครงสร้าง” : การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การให้สัมปทานแก่เอกชนในกิจการโทรศัพท์ ท่าเรือ ทางด่วน โรงไฟฟ้า ประปา การปฏิรูปภาษี: เริ่มใช้ภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) สาขาอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากขึ้น: การย้ายฐานการผลิตจากญี่ปุ่นและ NIEs: สิ่งทอ อีเล็กทรอนิกส์ รองเท้า ของเด็กเล่น นาฬิกา เลนส์ ชิ้นส่วนยานยนต์
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) สาขาอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากขึ้น: มูลค่าการส่งออกสินค้าอีเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เริ่มมากกว่าสิ่งทอและเกษตร
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) สาขาอุตสาหกรรมที่เน้นการส่งออกมากขึ้น: ยังคงพึ่งพาการนำเข้าชิ้นส่วน วัตถุดิบ และเครื่องจักร (60% - 90% ของมูลค่าการผลิต)
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s เพื่อหวังเป็นศูนย์กลางการเงินของภูมิภาคแทนที่ฮ่องกง: ยกเลิกเพดานดอกเบี้ย ผ่อนคลายการควบคุมการไหลของทุนและการแลกเปลี่ยนเงินตรา
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s: กิจการวิเทศธนาคาร (Offshore banking หรือ Bangkok International Banking Facility BIBF) เพื่อส่งเสริมการไหลของเงินระหว่างประเทศอย่างเสรี
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) เปิดเสรีทางการเงินในช่วงต้นทศวรรษ 1990’s: อนุญาตให้ธนาคารและบริษัทกู้เงินจากต่างประเทศได้ การเก็งกำไรในอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น “ฟองสบู่” Econ Change Boom_thai
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) Peter Warr: ในช่วงเศรษฐกิจบูม มากกว่าครึ่งของการขยายตัวมาจากการเพิ่มปริมาณทุน (ทั้งจากภายในและนอกประเทศ) ทุนไหลเข้าระยะสั้นมีความสำคัญมากกว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment หรือ FDI)
กระชุ่มกระชวย (1986-1995) ธปท. ใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ (fixed ER) และ sterilization อัตราดอกเบี้ยที่สูง ค่าเงินบาทแข็งเกินไป ดึงดูดเงินทุนไหลเข้าระยะสั้น (ซึ่งมีมูลค่ามากกว่าเงินทุนสำรองฯ ตั้งแต่ปี 1994 เป็นต้นมา)