การทดสอบความแปรปรวน ANOVA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 8: Interval Estimation
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
Menu Analyze > Correlate
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
T-Test compare with mean Independent Paired
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
วิจัย (Research) คือ อะไร
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
การทดสอบสมมติฐาน.
Probability and Statistics for Computing
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Training for SPSS BY Assist. Prof. Benchamat Laksaniyanon, Phd
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบความแปรปรวน ANOVA น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ

ANOVA: Analysis of Variance เป็นวิธีการทางสถิติที่ใช้ค่าความแปรปรวนในการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป One-way anova : ตัวแปรต้น 1 ตัว (มากกว่า 3 กลุ่ม) Two-way anova : ตัวแปรต้น 2 ตัว n-way anova : ตัวแปรต้น n ตัว ตัวแปรตาม 1 ตัว Ho: m1 = m2 = m3 = …=mn Ha: มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกัน

ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions) Normal distribution: ข้อมูลต้องมาจากประชากรที่มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ Variances of dependent variable are equal in all populations: ข้อมูลต้องมาจากประชากรที่มีความแปรปรวนเท่ากัน Random samples; independent scores : ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ต้องเป็นอิสระจากกัน ตัวแปรตาม เป็น interval or ratio scale ตัวแปรต้น เป็น nominal scale There are exceptions, and some of these assumptions can be violated: Assump. 1 can be violated if large sample size present If assump. 3 is violated, the ANOVA’s F value gives an inaccurate p-value.

การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing) Step1 State Ho and Ha Step2 Decide on the significance level, α Step 3 Compute the value of the test statistic F = MSb/MSw Step4 If the value of the test statistic falls in the rejection region,then reject Ho; otherwise,do not reject Ho Step5 Conclusion

Calculating SS Values Total SS = Σ Σ (yij – Y)2 k ni Total SS = Σ Σ (yij – Y)2 i=1 j=1 Within SS = Σ Σ (yij – Yi)2 k ni Between SS = Σ Σ (Yi – Y)2 For grouped data (use diff. equation for raw data) Total SS = Between SS + Within SS

Calculating MS Values MS = SS/df Calculating F Values F = MSb/MSw

ขั้นตอนการวิเคราะห์ความแปรปรวน ขั้นที่ 1 ตรวจสอบเงื่อนไข ค่าความแปรปรวนของตัวแปรตามทุกกลุ่มต่างกันหรือไม่? H0: 12 = 22 = 32 H1: มี 12 ≠ 22 อย่างน้อย 1 คู่ ใช้ Levene’s test

ขั้นตอนการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ต่อ) ขั้นที่ 2 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย H0: µ1 = µ2 = µ3 H1: µ1 ≠ µ2 อย่างน้อย 1 คู่

ขั้นตอนการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ต่อ) ขั้นที่ 3 การเปรียบเทียบเชิงซ้อน หรือการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยแต่ละคู่ H0: µ1 = µ2 = µ3 H1: µ1 ≠ µ2 อย่างน้อย 1 คู่

Using SPSS for One-Way ANOVA Analyze>Compare Means>ONE-WAY ANOVA The Dependent Variable is variable with the mean scores you are comparing The Factor is the grouping variable Request descriptive statistics in “options” menu Request a post hoc test for pairwise differences to see where source of difference lies (either Scheffe or Dunnett’s C for Equal Variances Not Assumed)

Multiple Comparisons / a post hoc test LSD : ใช้กรณีกลุ่มตัวอย่างไม่เกิน 5 กลุ่ม จำนวนในแต่ละกลุ่มจะเท่ากันหรือไม่ก็ได้ Tukey : กลุ่มตัวอย่างที่มี n เท่ากัน Scheffe : จำนวนในแต่ละกลุ่มจะเท่ากันหรือไม่ก็ได้ วิธีนี้ให้ค่าความแตกต่างที่ยากที่สุด

ตัวอย่าง วิธีการสอน 3 แบบ ส่งผลต่อจำนวนการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (เก็บข้อมูลการเข้าเรียนของนศ. 4 สัปดาห์) สมมติฐานการวิจัย วิธีการสอน 3 แบบ ส่งผลต่อจำนวนการเข้าเรียนของนักศึกษาแตกต่างกัน สมมติฐานในการทดสอบคือ Ho : μ1=μ2= μ3 Ha : มีวิธีการสอนอย่างน้อย 1 คู่ที่ให้ผลต่างกัน กำหนด ระดับนัยสำคัญที่ .05 การทดสอบทำได้โดย ใช้ ANOVA ดังนี้

Analyze>Compare Means>ONE-WAY ANOVA

การแปลผล ค่า F ที่คำนวณ มีค่า 62.966 ค่า p = .000 < ค่า α.05 ดังนั้น ปฏิเสธ Ho สรุปได้ว่า “ มีวิธีการสอนอย่างน้อย 1 คู่ ที่มีผลต่อจำนวนการเข้าเรียนของนักศึกษาแตกต่างกัน” ผลการเปรียบเทียบรายคู่ จำนวนการเข้าเรียนในวิธีการสอนแบบที่ 1 เท่ากับ 10.68 ชั่วโมง จำนวนการเข้าเรียนในวิธีการสอนแบบที่ 2 เท่ากับ 8.10 ชั่วโมง จำนวนการเข้าเรียนในวิธีการสอนแบบที่ 3 เท่ากับ 17.63 ชั่วโมง การสอนแบบที่ 3 ทำให้ นศ. เข้าเรียนมากที่สุด (มากกว่าการสอนแบบ 2 และ 1)