4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
วิธีการทางวิทยาการระบาด
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
Menu Analyze > Correlate
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
การศึกษาความพึงพอใจของ
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
แบบสังเกต (Observation form)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวิเคราะห์ข้อมูล.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
วิจัย (Research) คือ อะไร
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale) เป็นการวัดระดับตัวแปรที่สูงที่สุด มีคุณสมบัติครอบคุลมระดับการวัดใน 3 ระดับ ที่ได้กล่าวไปแล้ว ข้อแตกต่างอยู่ที่ค่าตัวเลขที่ได้ เป็นค่าตัวเลขที่มีคุณสมบัติทางคณิตศาสตร์ทุกประการ สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้ และค่าศูนย์เป็นศูนย์ที่แท้จริง คือ หมายถึงไม่มีเลย เช่น น้ำหนักเป็นศูนย์ถือว่าไม่มีน้ำหนักเลยเป็นข้อมูลที่มีระดับการวัดที่มีคุณสมบัติทางคณิตศาสตร์ ครบถ้วน 3 ประการคือ Magnitude Equal interval Absolute zero ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา การวัดตัวแปรแต่ละประเภทขึ้นอยู่กับธรรมชาติของตัวแปร และผู้วิจัยกำหนดตัวแปรที่จัดอยู่ในระดับการวัดในระดับต้นๆ ไม่สามารถเปลี่ยนให้วัดระดับสูงขึ้นได้ แต่ตัวแปรที่วัด ในระดับสูงสามารถปรับให้วัดในระดับต่ำลงได้ ดังนั้นในการสร้างเครื่องมือจะต้องคำนึงถึงชนิดของตัวแปรและระดับการวัดด้วย ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ตัวอย่างระดับของการวัด Scale Nominal หมายเลขของนักวิ่ง Ordinal ลำดับที่ของการเข้าเส้นชัย Interval ระดับความสามารถ (0-10) Ratio เวลาที่ใช้ (วินาที) Finish 7 8 3 Third place Second place First place Finish 8.2 9.1 9.6 15.2 14.1 13.4 ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ของเครื่องมือประเมิน ประเภท ของเครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ประเภทของเครื่องมือการประเมินโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินแบ่งตามจุดมุ่งหมายของการประเมินที่นิยมใช้กันทั่วไปมีดังนี้ แบบทดสอบ (Test) แบบสัมภาษณ์ (Interview form) แบบสังเกต (Observation form) แบบสอบถาม (Questionaire) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา