วิธีการตรวจสอบ Content Validity

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Experimental Research
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
4. Research tool and quality testing
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
แบบสังเกต (Observation form)
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีการตรวจสอบ Content Validity ต้องการตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหาของข้อสอบ ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับประชากรเนื้อหาข้อสอบ ตรวจสอบความสอดคล้องของเนื้อหาข้อสอบกับเนื้อหาที่ระบุไว้ในตารางการวิเคราะห์หลักสูตร รวมทั้งตรวจสอบสัดส่วนของจำนวน ข้อคำถามในแต่ละเนื้อหา การตรวจสอบโดยใช้ดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญหรือผู้รอบรู้เฉพาะเรื่องตรวจสอบว่าข้อสอบดังกล่าวครอบคลุมประเด็นที่ควรถามหรือไม่ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา Construct Validity คือความสอดคล้องระหว่างลักษณะพฤติกรรมที่เป็นโครงสร้างของคำถามกับพฤติกรรมโครงสร้างเป้าหมายของสิ่งที่ต้องการจะวัด ผู้วิจัยต้องทำการศึกษานิยามและความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆตามทฤษฎีให้เข้าใจเสียก่อนในเบื้องต้น ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

การหา Construct Validity สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การตรวจสอบโดยอาศัยดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญหรือผู้รอบรู้เฉพาะเรื่อง เรียกว่าการหา face validity การใช้วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ (factor analysis) เป็นการนำวิธีทางคณิตศาสตร์มาวิเคราะห์ว่าเครื่องมือที่สร้างขึ้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง อย่างละเท่าไร เป็นการแสดงโครงสร้างของเครื่องมือนั่นเอง การตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องมือที่สร้างขึ้นกับแบบทดสอบมาตรฐาน โดยใช้ค่าสหสัมพันธ์ของเพียรสัน หรือสหสัมพันธ์อื่นๆตามความเหมาะสม ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

Content and Construct Validity การตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาและโครงสร้างโดยอาศัยดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญนั้นในทางปฏิบัติสามารถตรวจสอบไปพร้อมๆกันได้ และสามารถวิเคราะห์ออกมาในเชิงปริมาณหรือตัวเลขได้ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

Criterion-related Validity เป็นการพิจารณาจากพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกทดสอบเป็นหลัก โดยอาศัยเวลาเป็นเกณฑ์บ่งชี้ความเที่ยงตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ความเที่ยงตรงตามสภาพ (concurrent validity) เป็นความสอดคล้องของผลการวัดจากเครื่องมือที่สร้างขึ้นกับสภาพความเป็นจริงขณะนั้น เช่นการสร้างเครื่องวัดความรู้ด้านการรักษาสุขภาพ (การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ฯลฯ) หากผู้ที่ได้คะแนนจากการทดสอบนี้สูงเป็นผู้ที่ปฏิบัติตนในเรื่องการรักษาสุขภาพดี ส่วนผู้ที่ได้คะแนนต่ำเป็นผู้ที่มีการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องแสดงว่าเครื่องมือวิจัยนี้มีความเที่ยงตรงตามสภาพสูง ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา