ระบบการสื่อสารดาวเทียม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
Low-speed UAV Flight Control System
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
ดาวเทียมไทยคม.
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
(Global Positioning System)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
กฎข้อบังคับสื่อสารโทรคมนาคม
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
ระบบ โทรคมนาคม บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ระบบโทรคมนาคม.
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ดวงจันทร์ (Moon).
3G โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โลกและสัณฐานของโลก.
ดาวเทียม Satellite 09/04/58 วินิจ กัลยาณพงศ์ ศูนย์เทคโนโลยีทาง การศึกษา
Chapter 5 Satellite Systems
Chapter 5 Satellite Systems
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการสื่อสารดาวเทียม อ.ปรีชา อูปคำ

ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร ดาวเทียมสื่อสารนั้นเป็นสถานีทวนสัญญาณที่ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศ เข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ 35,786  Km ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี  2508 โดยองค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ      (INTERNATIONAL     TELLECOMMUNICATIONS SATTELLITE  ORGANIZATION ) หรือเรียกย่อๆ ว่า INTELSAT

ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร ผู้ริเริ่มให้แนวคิดการสื่อสารดาวเทียมคือ “อาเธอร์ ซี คลาร์ก” (Arthur C. Clarke) โดยเขียนบทความ เรื่อง “EXTRA  TERRESTRIAL RELAYS” ในนิตยสาร“WIRELESS   WORLD”ฉบับเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1945   โดยใช้สถานีถ่ายทอดที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไป ประมาณ  35,786 กิโลเมตรจำนวน 3 สถานี

ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 4 ต.ค.1957 สปุทนิก 1 (SPUTNIK 1) ของสหภาพโซเวียต พ.ย.1957 สปุทนิก  2  (SPUTNIK 2)    โดยมีสุนัขชื่อ “ไลก้า” (LAIKA) ขึ้นไปด้วย 31 ม.ค.1958 อเมริกาก็ส่งดาวเทียม เอ็กซ์พลอเรอร์ 1 (EXPLORER 1) 18 ธ.ค. 1958 อเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารดวงแรกมีชื่อว่า “สกอร์” (SCORE) 

ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 20 ส.ค. 1964 ก่อตั้ง INTELSAT 10 ต.ค. 1964  มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียว  ผ่านดาวเทียม SYNCOM III   ไปสหรัฐอเมริกา เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก 6 เม.ย 1965  ดาวเทียม TELSAT 1 ที่รู้จักกันดีในชื่อว่า  EARLY  BIRD  ส่งขึ้นไปเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก

ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 20 ส.ค. 1964 ก่อตั้ง INTELSAT 10 ต.ค. 1964  มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียว  ผ่านดาวเทียม SYNCOM III   ไปสหรัฐอเมริกา เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก 6 เม.ย 1965  ดาวเทียม TELSAT 1 ที่รู้จักกันดีในชื่อว่า  EARLY BIRD  ส่งขึ้นไปเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก

ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม ดาวเทียมดวงที่ 1 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ดาวเทียมดวงที่ 2 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก     ดาวเทียมดวงที่ 3 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดีย        

วงโคจรดาวเทียม 1 วงโคจรตามแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit)  2 วงโคจรตามแนวขั้วโลก (เหนือ - ใต้) (Polar Orbit)

วงโคจรดาวเทียม 1.วงโคจรระดับต่ำ (LEO:Low Earth Orbit) ความสูงไม่เกิน 2,000 Km 2.วงโคจรผ่านขั้วโลก (PO:Polar Orbit) ความสูงไม่เกิน 2,000 Km 3.วงโคจรระดับกลาง (MEO:Medium Earth Orbit) ความสูง 8,000-12,000 Km 4.วงโคจรค้างฟ้า (GEO:Geosynchronous Earth Orbit) ความสูง 36,000 Km

วงโคจรดาวเทียม 1.วงโคจรระดับต่ำ (LEO:Low Earth Orbit) - ความสูงไม่เกิน 2,000 Km - วงโคจรรูปวงกลม - 28,000 Km/ชั่วโมง(1รอบใช้เวลา30นาที) - โครงข่ายดาวเทียม Global Star โครงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านดาวเทียม (Iredium)

วงโคจรดาวเทียม 2.วงโคจรผ่านขั้วโลก (PO:Polar Orbit) - ความสูงไม่เกิน 2,000 Km - วงโคจรเคลื่อนที่เหนือไปใต้ - สำรวจพื้นผิวโลก สภาพแวดล้อม อากาศ - ดาวเทียม TIROS (Television Infrared Operation System) วิจัยทางวิทยาศาสตร์

วงโคจรดาวเทียม 3.วงโคจรระดับกลาง (MEO:Medium Earth Orbit) - ความสูง 8,000-12,000 Km - วงโคจรเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตร - ส่งข้อมูลความเร็วสูง ประชุมทางไกลด้วยภาพ หรือโทรศัพท์ผ่านดาวเทียม - ดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์

วงโคจรดาวเทียม 4.วงโคจรค้างฟ้า (GEO:Geosynchronous Earth Orbit/Geostationary Orbit) - วงโคจรคล้าก เป็นเกียรติแก่ Arthur C Clarck - ความสูง 36,000 Km - วงโคจรระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตร - ความเร็วเท่าโลกหมุน(1รอบ/24ชั่วโมง) - ดาวเทียมสื่อสารโทรคมนาคม

ตำแหน่งดาวเทียม

ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 1. ดาวเทียมสื่อสาร ได้แก่ ดาวเทียมปาลาปา  ดาวเทียมไทยคม ดาวเทียม TDRS ดาวเทียมอินมาร์แซต ดาวเทียม ASTRA

ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 2. ดาวเทียมสำรวจ ได้แก่ ดาวเทียมLANDSAT ดาวเทียมMETEOR  ดาวเทียม EXPLORER ดาวเทียม GMS ดาวเทียม NOVA 6-9 ดาวเทียม NOAA และ THEOS

ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 3.ดาวเทียมยุทธวิธี เป็นดาวเทียมที่มีหลายรูปแบบ แล้วแต่ความต้องการทางด้าน กิจการทหาร

ย่านความถี่ที่ใช้งานดาวเทียม 1.สัญญาณเชื่อมโยงขาขึ้น (Up-link)   2.สัญญาณเชื่อมโยงขาลง(Down–link)       

ระบบส่งสัญญาณดาวเทียม 1.ระบบ C-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 4–8 GHz      2.ระบบ KU-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 12-18 GHz       3.ระบบ KA-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 20-30 GHz      

ระบบสื่อสารดาวเทียม 2 ส่วน ตัวดาวเทียม   สถานีภาคพื้นดิน      

ส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสาร  1.ระบบจ่ายกำลัง  2.ระบบควบคุมวงโคจรและท่าทีการโคจร  3.ระบบการวัดและการบังคับระยะไกล  4.ระบบสื่อสาร  5.ระบบสายอากาศ

ส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสาร

ส่วนประกอบสถานีภาคพื้นดิน

ประโยชน์การสื่อสารดาวเทียม

Thank You !