ระบบการสื่อสารดาวเทียม อ.ปรีชา อูปคำ
ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร ดาวเทียมสื่อสารนั้นเป็นสถานีทวนสัญญาณที่ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศ เข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ 35,786 Km ดาวเทียมสื่อสารที่ส่งขึ้นไปครั้งแรกเมื่อปี 2508 โดยองค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL TELLECOMMUNICATIONS SATTELLITE ORGANIZATION ) หรือเรียกย่อๆ ว่า INTELSAT
ระบบการสื่อสารดาวเทียมคืออะไร ผู้ริเริ่มให้แนวคิดการสื่อสารดาวเทียมคือ “อาเธอร์ ซี คลาร์ก” (Arthur C. Clarke) โดยเขียนบทความ เรื่อง “EXTRA TERRESTRIAL RELAYS” ในนิตยสาร“WIRELESS WORLD”ฉบับเดือนตุลาคม ปี ค.ศ.1945 โดยใช้สถานีถ่ายทอดที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไป ประมาณ 35,786 กิโลเมตรจำนวน 3 สถานี
ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 4 ต.ค.1957 สปุทนิก 1 (SPUTNIK 1) ของสหภาพโซเวียต พ.ย.1957 สปุทนิก 2 (SPUTNIK 2) โดยมีสุนัขชื่อ “ไลก้า” (LAIKA) ขึ้นไปด้วย 31 ม.ค.1958 อเมริกาก็ส่งดาวเทียม เอ็กซ์พลอเรอร์ 1 (EXPLORER 1) 18 ธ.ค. 1958 อเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารดวงแรกมีชื่อว่า “สกอร์” (SCORE)
ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 20 ส.ค. 1964 ก่อตั้ง INTELSAT 10 ต.ค. 1964 มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียว ผ่านดาวเทียม SYNCOM III ไปสหรัฐอเมริกา เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก 6 เม.ย 1965 ดาวเทียม TELSAT 1 ที่รู้จักกันดีในชื่อว่า EARLY BIRD ส่งขึ้นไปเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก
ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม 20 ส.ค. 1964 ก่อตั้ง INTELSAT 10 ต.ค. 1964 มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียว ผ่านดาวเทียม SYNCOM III ไปสหรัฐอเมริกา เป็นการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก 6 เม.ย 1965 ดาวเทียม TELSAT 1 ที่รู้จักกันดีในชื่อว่า EARLY BIRD ส่งขึ้นไปเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก
ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม ดาวเทียมดวงที่ 1 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ดาวเทียมดวงที่ 2 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ดาวเทียมดวงที่ 3 โคจรอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดีย
วงโคจรดาวเทียม 1 วงโคจรตามแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) 2 วงโคจรตามแนวขั้วโลก (เหนือ - ใต้) (Polar Orbit)
วงโคจรดาวเทียม 1.วงโคจรระดับต่ำ (LEO:Low Earth Orbit) ความสูงไม่เกิน 2,000 Km 2.วงโคจรผ่านขั้วโลก (PO:Polar Orbit) ความสูงไม่เกิน 2,000 Km 3.วงโคจรระดับกลาง (MEO:Medium Earth Orbit) ความสูง 8,000-12,000 Km 4.วงโคจรค้างฟ้า (GEO:Geosynchronous Earth Orbit) ความสูง 36,000 Km
วงโคจรดาวเทียม 1.วงโคจรระดับต่ำ (LEO:Low Earth Orbit) - ความสูงไม่เกิน 2,000 Km - วงโคจรรูปวงกลม - 28,000 Km/ชั่วโมง(1รอบใช้เวลา30นาที) - โครงข่ายดาวเทียม Global Star โครงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านดาวเทียม (Iredium)
วงโคจรดาวเทียม 2.วงโคจรผ่านขั้วโลก (PO:Polar Orbit) - ความสูงไม่เกิน 2,000 Km - วงโคจรเคลื่อนที่เหนือไปใต้ - สำรวจพื้นผิวโลก สภาพแวดล้อม อากาศ - ดาวเทียม TIROS (Television Infrared Operation System) วิจัยทางวิทยาศาสตร์
วงโคจรดาวเทียม 3.วงโคจรระดับกลาง (MEO:Medium Earth Orbit) - ความสูง 8,000-12,000 Km - วงโคจรเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตร - ส่งข้อมูลความเร็วสูง ประชุมทางไกลด้วยภาพ หรือโทรศัพท์ผ่านดาวเทียม - ดาวเทียมทางวิทยาศาสตร์
วงโคจรดาวเทียม 4.วงโคจรค้างฟ้า (GEO:Geosynchronous Earth Orbit/Geostationary Orbit) - วงโคจรคล้าก เป็นเกียรติแก่ Arthur C Clarck - ความสูง 36,000 Km - วงโคจรระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตร - ความเร็วเท่าโลกหมุน(1รอบ/24ชั่วโมง) - ดาวเทียมสื่อสารโทรคมนาคม
ตำแหน่งดาวเทียม
ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 1. ดาวเทียมสื่อสาร ได้แก่ ดาวเทียมปาลาปา ดาวเทียมไทยคม ดาวเทียม TDRS ดาวเทียมอินมาร์แซต ดาวเทียม ASTRA
ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 2. ดาวเทียมสำรวจ ได้แก่ ดาวเทียมLANDSAT ดาวเทียมMETEOR ดาวเทียม EXPLORER ดาวเทียม GMS ดาวเทียม NOVA 6-9 ดาวเทียม NOAA และ THEOS
ประเภทการใช้งานดาวเทียม 3 ประเภท 3.ดาวเทียมยุทธวิธี เป็นดาวเทียมที่มีหลายรูปแบบ แล้วแต่ความต้องการทางด้าน กิจการทหาร
ย่านความถี่ที่ใช้งานดาวเทียม 1.สัญญาณเชื่อมโยงขาขึ้น (Up-link) 2.สัญญาณเชื่อมโยงขาลง(Down–link)
ระบบส่งสัญญาณดาวเทียม 1.ระบบ C-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 4–8 GHz 2.ระบบ KU-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 12-18 GHz 3.ระบบ KA-BAND ความถี่อยู่ในช่วง 20-30 GHz
ระบบสื่อสารดาวเทียม 2 ส่วน ตัวดาวเทียม สถานีภาคพื้นดิน
ส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสาร 1.ระบบจ่ายกำลัง 2.ระบบควบคุมวงโคจรและท่าทีการโคจร 3.ระบบการวัดและการบังคับระยะไกล 4.ระบบสื่อสาร 5.ระบบสายอากาศ
ส่วนประกอบตัวดาวเทียมสื่อสาร
ส่วนประกอบสถานีภาคพื้นดิน
ประโยชน์การสื่อสารดาวเทียม
Thank You !