และการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด UTMGEO

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
Image Coordinates, Geometric Correction & Image Geo-referencing
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
(Global Positioning System)
น้ำและมหาสมุทร.
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)จ.สุราษฎร์ธานี
เรื่องเดิม   เมื่อวันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงติดตามผลการดำเนินงานโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนโรงงานยาสูบ.
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
วิธีการดำเนินงาน.
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน
ข้อสังเกตผลการ รังวัดจัดที่ดิน ของ ส. ป. ก. จังหวัด ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2551 โดย หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ( นางมนต์ทิพย์ รุจิกัณหะ ) ในการประชุมสัมมนาเพื่อเร่งรัด.
แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาไม่มีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U. T. M
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
การใช้เครื่องมือจับพิกัด GPS และ การใช้แผนที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูล โดย ดร.ณัฐ มาแจ้ง นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์
การใช้ align tool ตรึงจุดพิกัดที่มุมทั้ง 4 ด้านของแผนที่1
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
Geographic Information System
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
รวมสูตรพื้นที่ผิว และปริมาตร
อุทยานแห่งชาติภูกระดึง
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ศูนย์บำรุงทางหลวงชนบทแกลง Rural Roads Maintenance Center (Klaeng)
ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
( รูปเรขาคณิตสามมิติ )
ตัวอย่างการนำเสนอ (สีแดง) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิด Hi Speed Shutter สัญลักษณ์ (สีแดง) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ชนิด Hi Speed Shutter (สีส้ม) กล้องโทรทัศน์วงจรปิดชนิดสีแบบติดตั้งอยู่กับที่
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
ทวีปเอเชียน่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าสู่บทเรียน.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
กิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ( อพ. สธ.)
Coordinate Systems & Map Projections.
ที่ตั้งภาคตะวันตกของประเทศไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
Spherical Trigonometry
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ทรงกลม.
การใช้ align tool ตรึงจุดพิกัดที่มุมทั้ง 4 ด้านของแผนที่ 1 1.เลือกชั้นข้อมูล ภาพระวางแผนที่ ให้เป็นชั้นข้อมูล(Theme)ที่ active 2.เลือก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

และการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด UTMGEO กับ GEOUTM ซึ่งเป็นโปรแกรมในระบบปฏิบัติการ DOS

เนื้อหา โปรแกรม GEOTRANS2 โปรแกรม GEOUTM, UTMGEO

โลก สัณฐานของโลก จะเป็นทรงกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12,700 กิโลเมตร

GEOID (พื้นผิวทะเลปานกลาง)

ความสัมพันธ์ของ 3 พื้นผิว

พารามิเตอร์ของรูปทรงรีอ้างอิง (WGS-84)

พื้นหลักฐาน รูปทรงรี a (กึ่งแกนยาว) f (ความแบน) Indian 1975 Everest 1830 6377276.345 1/300.8017 WGS 84 WGS 84 6378137.0 1/298.257223563

การฉายแผนที่แบบ UTM

การฉายแผนที่แบบ UTM การฉายแผนที่แบบ UTM (Universal Transverse Mercator) คือการฉายแผนที่แบบ Tranverse Mercator ที่มีข้อกำหนดการฉายดังนี้ - กำหนดพื้นที่การฉายเป็น 60 โซน โซนละ 6 องศาทางตะวันออก- ตะวันตก - ความกว้างตามแนวตะวันออก-ตก ข้างละ 3 องศาลองจิจูดจาก Central Meridian - การให้หมายเลขโซน เริ่มต้นด้วยโซนที่ 1 มี Central Meridian อยู่ที่ 177° W โซนที่ 2 อยู่ถัดออกไปทางตะวันออกของโซนที่ 1 มี Central Meridian อยู่ที่ 171° W เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนครบทั้งโลก

การฉายแผนที่แบบ UTM (ต่อ) - พื้นที่ประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในโซนที่ 47 (Central Meridian 99 ° E)และทางตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมทั้งจังหวัดตราด และบางส่วนของจันทบุรีอยู่ในโซนที่ 48 (Central Meridian 105 ° E) - จุดที่เส้นเมริเดียนกลางตัดกับเส้นศูนย์ศูนย์สูตร เรียกว่า ศูนย์กำเนิด - ค่าพิกัดของศูนย์กำเนิดเป็นค่าสมมุติ ในซีกโลกเหนือ - ค่าพิกัดสมมุติทางเหนือ ( false northing ) = 0 เมตร - ค่าพิกัดสมมุติทางตะวันออก ( false easting) = 500,000 เมตร - หน่วยของค่าพิกัดเป็นเมตร - Scale Factor ที่ Central Meridian เป็น 0.9996

โปรแกรม GEOTRANS V2.3

ข้อดี ใช้ได้กับทุกระบบพิกัด ข้อจำกัด ความถูกต้องประมาณ 1 เมตร http://earth-info.nga.mil/GandG/geotrans/

3) การใช้โปรแกรม UTMGEO75, GEOUTM75

ไฟล์ข้อมูล GEOUTM75

GEOUTM75

ไฟล์ข้อมูล UTMGEO75

UTMGEO75

1) การแปลงค่าพิกัด UTM โดยหาจากสูตรในแผนที่ L7018

แผนที่ 1/50,000 ชุด L 7018

ข้อดี สูตรแบบง่าย EIND1975 ≈ EWGS84 + 334 m. NIND1975 ≈ NWGS84 - 303 m. ข้อจำกัด ใช้ได้กับเฉพาะระวาง ในตัวอย่างนี้คือระวาง 5136 IV ความคลาดเคลื่อนจากสูตรไม่เกิน 3 เมตร

L7018 L7017