ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
ครั้งที่ 8 Function.
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวแปรในภาษา JavaScript
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ตัวดำเนินการในภาษาซี
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

ฟังก์ชันรับข้อมูล เป็นฟังก์ชันที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เพื่อนำมาประมวลผล แบ่งออกเป็น ฟังก์ชัน scanf() ฟังก์ชัน getchar() ฟังก์ชัน getch() ฟังก์ชัน getche() ฟังก์ชัน gets()

ฟังก์ชัน scanf() เป็นฟังก์ชันในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์เข้าไปเก็บตามรูปแบบที่กำหนดไว้ มีรูปแบบการใช้งานคือ scanf(“format”,&variable_name); โดยที่ format หมายถึง รหัสรูปแบบข้อมูล (format code) เพื่อกำหนดประเภทข้อมูลที่รับเข้ามาโดยเขียนอยู่ในเครื่องหมาย “ ” (double quote) variable_name หมยถึง ตัวแปรที่ใช้ในการเก็บข้อมูลที่รับเข้ามา โดยต้องเขียนนำหน้าชื่อตัวแปรด้วยเครื่องหมาย & ยกเว้นตัวแปรประเภทข้อความ ถ้ามีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวให้ใช้เครื่องหมาย , คั่นระหว่างตัวแปร

ตัวอย่าง ฟังก์ชัน scanf() 1: #include <stdio.h> 3: char name[20]; 4: int age; 5: main() { 7: printf(“What is your name : ”); 8: scanf(“%s”,name); 9: printf(“How old are you : ”); 10: scanf(“%f”,&age); 12: getchar(); 11: printf(“%s is %d years old\n”,name,age); 13: getchar(); 14:}

ข้อสังเกตจากตัวอย่าง จากโปรแกรมบันทัดที่ 8 จะเห็นว่าตวแปร name ไม่มี & นำหน้าเนื่องจากเป็นตัวแปรชนิดข้อความส่วนบันทัดที่ 10 ตัวแปร age ซึ่งเป็นตัวแปรจำนวนเต็มจะมีเครื่องหมาย & นำหน้าตามปกติ

ผลการทำงาน What is your name : weera How old are you : 18 weera is 18 years old

ฟังก์ชัน getchar() เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับรับข้อมูลประเภทตัวอักขระจากแป้นพิมพ์ รับข้อมูลครั้งละ 1 ตัวอักษรเท่านั้น การใช้งานฟังก์ชัน getchar() เมื่อใช้ป้อนตัวอักขระจากแป้นพิมพ์แล้วจะต้องกดแป้น Enter โปรแกรมจึงทำงานต่อไป ตัวอักขระที่ป้อนเข้าไปนั้นจะปรากฎให้เห็นตอนป้อน

รูปแบบฟังก์ชัน getchar() variable_name = getchar(); โดยที่ variable_name หมายถึง ชื่อของตัวแปรประเภทตัวอักขระ ใช้สำหรับเก็บค่าของตัวแปรที่รับผ่านแป้นพิมพ์

ตัวอย่างฟังก์ชัน getchar() 1: #include <stdio.h> 3: char x; 4: main() 5: { 7: printf(“Enter your character : ”); 8: x = getchar(); 9: printf(“Your character is : %c\n”,x); 10: getchar(); 11: }

Enter your character : a Your character is : a ผลการทำงาน Enter your character : a Your character is : a

ฟังก์ชัน getch() เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับรับข้อมูลประเภทตัวอักขระจากแป้นพิมพ์ รับข้อมูลครั้งละ 1 ตัวอักษรเท่านั้น การใช้งานฟังก์ชัน getch() เมื่อใช้ป้อนตัวอักขระจากแป้นพิมพ์แล้วไม่ต้องกดแป้น Enter โปรแกรมจึงทำงานต่อไป ตัวอักขระที่ป้อนเข้าไปนั้นจะไม่ปรากฎให้เห็นตอนป้อน

รูปแบบฟังก์ชัน getch() variable_name = getch(); โดยที่ variable_name หมายถึง ชื่อของตัวแปรประเภทตัวอักขระ ใช้สำหรับเก็บค่าของตัวแปรที่รับผ่านแป้นพิมพ์

ตัวอย่างฟังก์ชัน getch() 1: #include <stdio.h> 3: char x; 4: main() 5: { 7: printf(“Enter your character : ”); 8: x = getch(); 9: printf(“Your character is : %c\n”,x); 10: getchar(); 11: }

ผลการทำงาน Enter your character : Your character is : a

ฟังก์ชัน getche() เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับรับข้อมูลประเภทตัวอักขระจากแป้นพิมพ์ รับข้อมูลครั้งละ 1 ตัวอักษรเท่านั้น การใช้งานฟังก์ชัน getche() เมื่อใช้ป้อนตัวอักขระจากแป้นพิมพ์แล้วไม่ต้องกดแป้น Enter โปรแกรมจึงทำงานต่อไป ตัวอักขระที่ป้อนเข้าไปนั้นจะปรากฎให้เห็นตอนป้อน

รูปแบบฟังก์ชัน getche() variable_name = getche(); โดยที่ variable_name หมายถึง ชื่อของตัวแปรประเภทตัวอักขระ ใช้สำหรับเก็บค่าของตัวแปรที่รับผ่านแป้นพิมพ์

ฟังก์ชัน gets() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลประเภทข้อความจากแป้นพิมพ์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ gets(variable_name); โดยที่ variable_name หมายถึง ชื่อของตัวแปรแบบข้อความที่ใช้เก็บค่าข้อความที่ผู้ใช้ป้อน

ตัวอย่างฟังก์ชัน gets() 1: #include <stdio.h> 3: char x[20]; 4: main() 5: { 7: printf(“Enter your message : ”); 8: gets(x); 9: printf(“Your message is : %c\n”,x); 10: getchar(); 11: }

ผลการทำงาน Enter your message : pluakdaeng Your message is : pluakdaeng คำสั่ง gets(x) จะมีค่าเหมือนกับ scanf(“%s”,x);