Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Advertisements

ทำความรู้จักและใช้งาน
ตารางแฮช Hash Table.
Distributed Administration
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
Lecture 10 : Database Documentation
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี.
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
การเรียงลำดับและการค้นหาแบบง่าย
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
การจัดการข้อมูล (Data management).
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Microsoft Access.
Microsoft Access.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ระบบฐานข้อมูล Database system
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การขุดค้นข้อมูล (Data Mining)
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Surachai Wachirahatthapong
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
การพัฒนาระบบค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับงานสารบรรณ
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล (ต่อ)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กระบวนการสอบถามข้อมูล
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
บทที่ 5 เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Searching Techniques)
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง Secondary Storage Unit
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Geographic Information System
(Transaction Processing Systems)
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
 ในปัจจุบันการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยน จากระบบ.
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
Chapter 1 : Introduction to Database System
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Chapter 11 Instruction Sets: Addressing Modes
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Data Structure and Algorithms
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Charter 7 1 Chapter 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล Data File Management

Charter 7 2 การจัดการไฟล์ข้อมูล คือ การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์อย่างมีระบบ ข้อมูลนี้ได้แก่ ข้อมูลนำเข้า , ผลลัพธ์จากการประมวลผล รวมถึงวิธีการจัดการกับข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลที่ได้ในระบบคอมพิวเตอร์

การจัดการไฟล์ข้อมูล วัตถุประสงค์ของการจัดการไฟล์ข้อมูล Charter 7 3 การจัดการไฟล์ข้อมูล วัตถุประสงค์ของการจัดการไฟล์ข้อมูล 1. เพื่อหาวิธีการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง 2. เพื่อหาวิธีในการดึงข้อมูลจากไฟล์เพื่อนำมาประมวลผล 3. เพื่ออำนวยความสะดวกในการสร้างไฟล์และบำรุงรักษาไฟล์

การจัดการไฟล์ข้อมูล องค์ประกอบของข้อมูล 1. ตัวอักขระ (Character) Charter 7 4 การจัดการไฟล์ข้อมูล องค์ประกอบของข้อมูล 1. ตัวอักขระ (Character) 2. ฟิลด์ (Field) 3. เรคอร์ด (Record) 4. ไฟล์ข้อมูล (Data File) - ไฟล์หลัก (Master File) - ไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง (Transaction File) - ไฟล์รายงาน (Report File) - ไฟล์รียงลำดับข้อมูล (Sort File) 5. ดาต้าเบส (Database)

การจัดการไฟล์ข้อมูล การจัดเก็บไฟล์ข้อมูล แบ่งได้ 3 วิธีการ Charter 7 5 การจัดการไฟล์ข้อมูล การจัดเก็บไฟล์ข้อมูล แบ่งได้ 3 วิธีการ 1. แบบลำดับ (Sequential File Organization) 2. แบบโดยตรง (Direct File Organization) 3. แบบลำดับเชิงดัชนี (Indexed Sequential File Organization)

การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบลำดับ (Sequential File Organization) Charter 7 6 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบลำดับ (Sequential File Organization) เป็นการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับต่อเนื่องกันไปตามคิว วิธีนี้เหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่ม ที่ต้องการประมวลผลข้อมูลทั้งหมด วิธีการนี้ช้าที่สุด

การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบโดยตรง (Direct File Organization) Charter 7 7 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบโดยตรง (Direct File Organization) บางครั้งเรียกว่า การจัดการไฟล์แบบสุ่ม (Random Access File Organization) การเข้าถึงข้อมูลไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับ การเข้าถึงข้อมูลเร็วกว่าแบบลำดับมาก เหมาะกับงานที่ต้องการความเร็วในการทำงานสูง การหาตำแหน่งข้อมูล ใช้ เทคนิคแบบแฮชชิ่ง (Hashing Technique) หรือเทคนิคแบบสุ่ม (Randomizing Technicque)

การจัดการไฟล์ข้อมูล การแฮชชิ่ง (Hashing) Charter 7 8 การจัดการไฟล์ข้อมูล การแฮชชิ่ง (Hashing) เป็นการรหัสของข้อมูลให้เป็นตำแหน่งที่อยู่ในดิสก์ โดยใช้สูตรเป็นตัวแปลง ประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับสูตรที่เลือกใช้ ส่วนมากจะใช้วิธีการหารด้วยตัวเลข Prime (จำนวนเฉพาะที่หารด้วยตัวเองและ 1 ลงตัวเท่านั้น) จากนั้นนำเศษจากการหารไปใช้เป็นตำแหน่งที่อยู่จริง ข้อเสียคือ อาจจะเกิดการชนกัน (Collision) ของตำแหน่งจากการทำแฮชชิ่ง แก้โดยการหาตำแหน่งว่างถัดไปเก็บข้อมูล และข้อมูลจะกระจาย

Charter 7 9 การจัดการไฟล์ข้อมูล แบบไฟล์ลำดับเชิงดัชนี (Index Sequential File Organization) เป็นการรวม 2 วิธีการแรกเข้าด้วยกัน โดยเก็บข้อมูลออกเป็น 2 สว่น ส่วนแรกจะเก็บไฟล์ดัชนีไว้ซึ่งคีย์สูงสุดและหมายเลขแทร็กเอาไว้ ส่วนที่ 2 จะเก็บไฟล์ข้อมูล วิธีการนี้มีความเร็วกว่าแบบลำดับ แต่ช้ากว่าแบบดัชนี

การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูลในทางธุรกิจ แบ่งได้ 2 แบบ Charter 7 1010 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูลในทางธุรกิจ แบ่งได้ 2 แบบ 1. การประมวผลแบบแบตซ์ (Batch Processing) 2. การประมวลผลแบบเรียลไทม์ (Real Time Processing)

การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบแบตซ์ (Batch Processing) Charter 7 1111 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบแบตซ์ (Batch Processing) เป็นการเก็บรวบรวมรายการเปลี่ยนแปลง (Transaction) ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และนำมาประมวลผลในภายหลัง การประมวลผลแบบบนี้ เหมาะกับงานที่ต้องการประมวลผลเป็นกลุ่ม ลดค่าใช้จ่ายในการประมวลผล

การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบเรียลไทม์ (Real Time Processing) Charter 7 1212 การจัดการไฟล์ข้อมูล การประมวลผลแบบเรียลไทม์ (Real Time Processing) เป็นการประมวลผลทันทีที่เกิดรายการเปลี่ยนแปลงขึ้น และรายงานผลให้ผู้ใช้ทราบทันที หรืออาจเรียกว่า ออนไลน์ (On-Line) การทำงานจะใช้ระบบแบ่งเวลา (Time Sharing) เนื่องจากสามารถใช้งานได้พร้อมกันหลาย ๆ คน