ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดเสื้อสูทน้ำเงิน ไม่มีปก
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
สาระการเรียนรู้ อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ.
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
ย้อนรอยการสร้างปราสาท
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การนับเบื้องต้น Basic counting
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
วิชาคณิตศาสตร์ (แคลคูลัส) รหัสวิชา ค30102
การวัด จรรยา สินถาวร.
3. ขึ้นอยู่กับระยะทางจากวัตถุถึงตัวกล้อง
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน
การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้สัดส่วน ( 2 )
เลนส์นูน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การแจกแจงปกติ.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
กติกาการแข่งขันกรีฑา
แบบทดสอบเรื่องเศษส่วนและทศนิยม
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การสร้างแบบเสื้อและแขน
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก  r h
กล้องโทรทรรศน์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ครูอำพรรณ ทรัพย์ประชา : ตากพิทยาคม
ทรงกลม.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน การคำนวณกระจกนูน ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน

สูตรการคำนวณ  

สูตรการคำนวณ

สูตรการคำนวณ

สูตรการคำนวณ

แบบฝึกทักษะการคำนวณ 1. วัตถุหนึ่งอยู่ห่างจากกระจกนูน 10 เซนติเมตร เกิดภาพหลังกระจก 5 เซนติเมตร กระจกนี้มีความยาวโฟกัสเท่าใด 2. ชายคนหนึ่งยืนอยู่ห่างจากกระจกนูน 50 เซนติเมตร เกิดภาพหลังกระจก 10 เซนติเมตร กระจกนี้มีความยาวโฟกัสเท่าใด

แบบฝึกทักษะการคำนวณ 3. วางวัตถุ ห่างจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร ถ้ากระจกนูนที่มีความยาวโฟกัส เท่ากับ 5 เซนติเมตร จงหาระยะภาพ 4. วางวัตถุหน้ากระจกนูนที่มีรัศมีความโค้ง 1.2 เมตร จะเกิดภาพห่างจากระจก 0.2 เมตร จงหาว่า วัตถุห่างจากกระจกเท่าใด

แบบฝึกทักษะการคำนวณ 5. วัตถุสูง 1.2 เมตร อยู่ห่างจากกระจก 3.6 เมตร เกิดภาพห่างจากระจก 2.4 เมตร เกิดภาพสูงกี่เมตร 6. วางวัตถุสูง 4 เซนติเมตร หน้ากระจกนูน ห่างจากกระจก 24 เซนติเมตร ถ้ากระจกนี้มีความยาวโฟกัส 8 เซนติเมตร จงหาความสูงของภาพ

แบบฝึกทักษะการคำนวณ 7. วางวัตถุห่างจากกระจกโค้งนูน 16 เซนติเมตร เกิดภาพขนาดลดลง 2 เท่า หลังกระจก กระจกโค้งนี้ มีความยาวโฟกัสเท่าใด 8. วางวัตถุไว้ที่หน้ากระจกโค้งนูนเป็นระยะ 12 เซนติเมตร ได้อัตราส่วนของขนาดภาพ : ขนาดของวัตถุเป็น 1:3 ภาพที่เกิดขึ้นอยู่ห่างจากกระจกเป็นระยะเท่าใด

9. ปากกาด้ามหนึ่งสูง 10 เซนติเมตร อยู่หน้ากระจกนูน 5 เซนติเมตร ได้ภาพในกระจกสูง 6 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้งกี่เซนติเมตร 10. วัตถุสูง 10 เซนติเมตร วางไว้หน้ากระจกนูนห่างจากกระจกนูน 100 เซนติเมตร เกิดภาพหลังกระจกนูนสูง 2 เซนติเมตร จงหาว่ากระจกนูนมีรัศมีความโค้งเท่าใด

สวัสดี