การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ดร.นเรฏฐ์ พันธราธร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ความรู้ ความรู้ (knowledge) คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้ง ความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมา จากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการ ได้ยิน ได้ฟัง การคิดหรือการปฏิบัติ (คำนิยามจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542) A little knowledge that acts is worth more than much knowledge that is idle. : Kahlil Gibran
ประเภทของความรู้ Knowledge Explicit Knowledge Tacit Knowledge จากประสบการณ์ จากพรสวรรค์ จากทักษะ Explicit Knowledge ความรู้ที่รวบรวมได้ มีบันทึกชัดแจ้ง Knowledge is a key asset, but it is often tacit and private.
ปัญหาที่พบบ่อยๆ เมื่อมีบุคลากรเกษียณอายุหรือลาออก มีผลกระทบต่อการทำงาน งานสะดุด เวลามีปัญหาในการทำงาน ไม่รู้จะไปถามใคร องค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ไม่ได้ถูกนำมาใช้แลกเปลี่ยน ต่อยอดความรู้ใหม่ แต่เป็นการทำงานซ้ำซ้อนกับคนอื่นที่ได้ทำมาแล้ว ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งส่วนใหญ่หาไม่ค่อยพบ หรือถ้าพบข้อมูลก็ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์ หรือไม่ตรงตามที่ต้องการ มีข้อมูลและสารสนเทศท่วมท้น แต่ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง
การจัดการความรู้ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด KM is a Journey, not a destination. : Warick Holder
เป้าหมายของการจัดการความรู้ งานบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาบุคลากร องค์กรพัฒนาเป็น “ องค์กรแห่งการเรียนรู้ ”
หลักสำคัญในการจัดการความรู้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจาก Tacit Knowledge เป็น Explicit Knowledge ให้มากที่สุด เพื่อให้เกิดความรู้และประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร บริหารจัดการให้คนที่มี Tacit Knowledge ถ่ายทอด ออกมาสู่คนอื่นๆที่ต้องการความรู้นั้น ด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบ เช่น เอกสารคู่มือ/สื่อรูปแบบต่างๆ หรือการสอนงานแบบเป็นพี่เลี้ยง/การถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้
แนวคิดของการจัดการความรู้ เข้าถึง ตีความ Access/Validate สร้างความรู้ยกระดับ Create/Leverage รวบรวม/จัดเก็บ Store นำไปปรับใช้ Apply/Utilize เรียนรู้ร่วมกัน Capture/Learn Explicit Knowledge Tacit Knowledge มีใจ/แบ่งปัน Care/Share เรียนรู้ยกระดับ Learning เน้น 2 T (Tool & Technology) เน้น 2 P (People & Process)
วงจรการพัฒนาความรู้
องค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้ Knowledge Vision Knowledge Sharing Knowledge Assets
ขั้นตอนการจัดการความรู้ 1. กำหนดประเด็นที่ต้องจัดการความรู้ 2. สร้างและแสวงหาความรู้ 3. ประมวลและกลั่นกรองความรู้ที่ได้รับ 4. จัดเวทีเพื่อแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรียนรู้
ประเด็นการจัดการความรู้ ด้านเทคนิคการสอน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ เผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ด้านการพัฒนาภาษาอังกฤษ การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านธรรมาธิปไตย การยึดมั่นคุณธรรม ด้านการบริการจัดการที่เป็นเลิศ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้านนวัตกรรม 2557
ตัวอย่างโปสเตอร์สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ http://isdc.rsu.ac.th/km/