Lean Implementation แพทย์หญิง พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
Lean Health Care Lean. คือ. TQM. โดยการกำจัด Waste
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY
The General Systems Theory
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ระบบการผลิต ( Production System )
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
Lean House องค์ประกอบ(โครงสร้าง)ลีน แพทย์หญิง พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
Value Stream Mapping ข้อมูลจากการประชุม
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
A3 PROBLEM REPORT A3 PROBLEM SOLVING พญ. พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
บทที่ 3 Planning.
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
Participation : Road to Success
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การบริหารจัดการ PDCA cycle
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
การสร้างทีมงานในการบริหารโครงการ
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lean Implementation แพทย์หญิง พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์ ข้อมูลจากการประชุม Value Stream Mapping : รศ. นพ. กิตติ ลิ่มอภิชาติ Lean Concept : Application & Simulation In Healthcare 3 – 4 ตุลาคม 2554 คณะกรรมการ LEAN โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ http://opsmgt.edublogs.org/2012/10/23/is-lean-government-the-solution-to-economic-problems/

แนวทางในการนำแนวคิดลีนมาปรับใช้ นโยบายจากผู้บริหารระดับสูง หัวหน้าหน่วยงาน Sensei (Guru) ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ ถ่ายทอด เรียนรู้ ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิด Lean จากการฟังบรรยาย อบรมเชิงปฏิบัติการ (work shop , game simulation) Lean Facilitator หัวหน้าหน่วยงาน เห็นปัญหา เห็นด้วยกับแนวคิดลีนและต้องปรับปรุงกระบวนการทำงาน ดำเนินการ Lean project – Project owner , Team ติดตามความก้าวหน้า ปรับปรุงเป็นระยะ ๆ (Kaizen) อย่างสม่ำเสมอ นำโครงการ ร่วมกัน ชื่นชม พิจารณาปรับปรุง Continuous Improvement  PDCA

เลือกกระบวนการทำงานชนิดใดทำ Lean project ? Core process งานหลัก Queue/Bottle neck: ขั้นตอนที่คอยนาน งานที่ต้องรอ หรือทำไม่ทัน คิวต่าง ๆ เช่น คิวการอนุมัติโครงการ คิวในการประเมินผลงานทางวิชาการ คิวในการให้ใบอนุญาตประกอบการต่างๆ คิว admit คิวตรวจพิเศษ คิวรอห้องพิเศษ คิวผ่าตัด Problem ขั้นตอนหรือการทำงาน ที่มีปัญหาเกิดขึ้น เช่น ล่าช้า ผลงานผิดพลาดต้องแก้ไขบ่อย ๆ Central process, inter-department , inter-unit job งานที่ต้องประสานงานร่วมกันหลายหน่วย กระบวนการที่ : ใช้เวลานาน / ใช้คนหลายคน มีขั้นตอนมาก / ยุ่งยาก (complex) / ใช้ค่าใช้จ่ายมาก สิ้นเปลือง งานที่ค้างเสมอ ๆ (work in process-WIP) งานที่ต้องนำกลับไปทำต่อที่บ้าน

Go See , Ask Why , Respect People Gamba Walking (Genchi Genbusu) กับผลลัพธ์ที่ต้องการหรือไม่ สภาพการทำงาน คนทำงาน เป็นอย่างไร (Seeing is believing) Ask Why มีปัญหาอะไร ถ้ามีทำไม ควรแก้ไขอย่างไร ในการทำงาน มี Waste หรือไม่ Respect People  ไว้ใจและเชื่อมั่นในบุคลากร พัฒนาและท้าทาย ให้มุ่งสู่เป้าหมายที่สูงขึ้น (Rely on people Develop People Challenge People)

นอกจากลดเวลารอคอย ลด Waste หรือลด Cycle time หรือระยะทางการเดิน ยังอาจหมายถึง ลดพื้นที่ทำงาน / เพิ่มพื้นที่ใช้สอย ลดค่าใช้จ่าย ลดอุปกรณ์ ลดเครื่องมือ ลดคนทำงาน ลดความผิดพลาด เพิ่มความปลอดภัย ลดความเสี่ยง ของผู้ป่วย / ผู้ใช้บริการ คนทำงาน

กระบวนการต่อไปนี้ ไม่ใช่แนวทางของ Lean การปรับกระบวนการเพียงขั้นตอนเดียว หรือการ ปรับเพียงส่วนน้อย เรียกว่า Keizen การลดขั้นตอนหรืองานของหน่วยงานตนเอง แต่โอน/เปลี่ยนให้หน่วยงานอื่นรับผิดชอบหรือ ทำแทน การกำหนดให้ผู้อื่นปรับการทำงานให้ดีขึ้น ถูกต้องสมบูรณ์ ก่อนส่งงานให้ การลดหรือตัดขั้นตอนทิ้งแต่ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อความผิดพลาดหรือความปลอดภัยของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น การลดหรือยกเลิกขั้นตอนที่ขัดต่อระเบียบ ข้อตกลง กฎหมาย Lean ต้องใช้ทรัพยากรลดลง ไม่ใช่เพิ่มขึ้น ถ้าใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้น เช่น เพิ่มคน เพิ่มเครื่องมือ หรือครุภัณฑ์เพื่อให้งานรวดเร็วขึ้น ต้องมีความจำเป็นจริง ๆ และได้ประสิทธิภาพคุ้มค่ากว่าเดิมชัดเจน LEAN  บุคลากรต้องทำงานน้อยลงแต่ประสิทธิภาพดีขึ้น ไม่เพิ่มความเครียด ขวัญกำลังใจมากขึ้น

Problem in Lean implementation ปัญหา และอุปสรรค ในการนำลีนมาใช้ในองค์กร

ไม่สามารถควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการแต่ละคนต้องการ บริการต่าง ๆ กัน ต้องการข้อมูล ผลงาน ชิ้นงาน คำแนะนำ และการติดตาม ที่ไม่เหมือนกัน ไม่สามารถควบคุมความแตกต่างได้ ไม่เหมือนการผลิตสินค้า หรือบริการประเภทอื่น ๆ ไม่สามารถควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการ ในหลาย ๆ กรณี ไม่สามารถทำนายผลการบริการ ได้แน่นอน

ผู้ใช้บริการของ กทม. ไม่ใช่ รถยนต์ หน่วยงาน กทม. ไม่ใช่ โรงงาน Lean ไม่ได้เปลี่ยนหน่วยงานของกทม.ให้เป็น โรงงาน หน่วยงานกทม. ยังเป็น หน่วยงาน กทม.เช่นเดิม แต่เป็น Lean Government หรือเป็น Lean Organization

เรียนรู้จากการทำ lean government ของอเมริกา “การไม่ยอมรับในการเปลี่ยนแปลง” Key factors ที่จะทำให้การทำลีน สำเร็จคือ การทำ ให้บุคลากรได้รับการเรียนรู้ในเรื่องภาวะผู้นำอย่าง เหมาะสม (properly oriented leadership) โดยเฉพาะในกลุ่ม - ที่ดื้อและยึดมั่นกับแนวทางปฏิบัติแบบเดิมๆ - คนที่ไม่มีภาวะผู้นำของการเปลี่ยนแปลง (changing leadership)

เรียนรู้จากการทำ lean government ของอเมริกา - ต้องอาศัยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในระดับกลาง วางแผนการ นำสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน หน่วยงานของรัฐบาลที่สามารถทำลีนได้สำเร็จ อาศัย - การวางเป้าหมายที่สามารถทำได้ โดยอาศัยเครื่องมือลีน ต่างๆอย่างจริงจัง - ติดตามผลการทำงาน, feed back รวบรวม impact ที่สำคัญ

Lean เป็นการเปลี่ยนแนวคิด ปรัชญาขององค์กร ของคนทำงาน เปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน Lean เปลี่ยนคุณค่า Value ของการให้บริการ จากมุมมองของ ผู้ใช้บริการ ไม่ใช่จาก ข้าราชการ / เจ้าหน้าที่

สิ่งที่ผู้ใช้บริการต้องการจากการหน่วยงาน กทม. Lean ให้หรือกำหนดคุณค่า (Value)โดยยึดดวามต้องการ ความคาดหวัง ของลูกค้าเป็นสิ่งสำคัญ แต่ลูกค้าไม่มีความสามารถจะบอกความต้องการ ไม่มีความรู้พอที่จะเลือก หรือให้ความเห็นต่อการลักษณะการให้บริการได้ จะกำหนดคุณค่าโดย ลูกค้า หรือ ประชาชนที่มาใช้บริการได้อย่างไร สิ่งที่ผู้ใช้บริการต้องการจากการหน่วยงาน กทม. ต้องการได้รับข้อมูล บริการ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ด้วยวิธีการที่ได้ผลดีที่สุด ได้มาตรฐาน ให้บริการตรงตามความต้องการ เฉพาะปัญหาที่เกิดขึ้น เฉพาะตนอย่างถูกต้อง อย่าง รวดเร็ว เหมาะสม โดยไม่มีการรอนานเกินไป มีกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ไม่มีความสูญเสีย (Waste) ไม่มีความผิดพลาด ประหยัดทำให้เกิด ความปลอดภัยต่อตน ทั้งชีวิต และทรัพย์สิน ได้รับการดูแลอย่างเสมอภาค

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ วัฒนธรรมองค์กร ความมุ่งมั่นของผู้นำระดับสูง นโยบาย การถ่ายทอดให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดลีน ความร่วมมือของบุคลากร (Engagement , Empowerment) การสื่อสารภายในองค์กร การสนับสนุนจากผู้บริหาร – เวลา สถานที่ อุปกรณ์ การอบรม การติดตามจากผู้บริหาร การชื่นชม รางวัลความสำเร็จ

Toyota Culture 4P Model of the Toyota Way- Liker & Hoseus 2008 การแก้ไขปัญหา ปรับปรุงให้ดีขึ้น และเรียนรู้ Problem Solving (Continuous improvement and Learning) คำนึงถึงผู้เกี่ยวข้อง (ศรัทธา+เชื่อมั่น ท้าทาย พัฒนา) People and Partners (Respect, Challenge and Grow them) กระบวนการ / ขั้นตอนการทำงาน – กำจัดความสูญเปล่า Process (Eliminate waste) ปรัชญาการทำงาน Philosophy (Long – term Thinking)

4 D pyramid People and Partners Problem Solving (Continuous improvement and Learning) People and Partners (Respect, Challenge and Grow them) Eliminate waste Process (Long – term Thinking) Philosophy

ลักษณะของผู้บริหารของ Toyota Harvard Business Review, June 2008 พร้อมที่จะเรียนรู้และรับฟังจากผู้อื่น (Willingness to listen and learn from others กระตือรือร้นในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นอยู่เสมอ (Enthusiasm for constantly making improvements) พร้อมและเต็มใจในการร่วมทีมทำงาน (Comfort with working in teams) for constantly making improvements) มีความสามารถและกล้าตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว (Ability to take action quickly to solve a problem) สนใจที่จะให้คำปรึกษาแก่ผู้ร่วมงาน (interest in coaching other employees) สุภาพ อ่อนน้อม (Modesty)

รู้และเห็นปัญหา – การแก้ไขปัญหา ผังก้างปลา : Fish Bone Diagram วิเคราะห์หาสาเหตุราก : Root Cause Analysis –RCA การวิเคราะห์ความล้มเหลวและผลกระทบ : Failure Mode Effect Analysis – FMEA ทำไม 5 ครั้ง : 5 Why วางแผน-ทำ-ตรวจสอบ-แก้ไข : Plan – Do – Check – Act (PDCA)

เห็นประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง เพื่อให้ตนเองทำงานอย่างมีคุณค่า ภาคภูมิใจ มีความสุข สนุกกับการทำงาน และเพื่อประโยชน์ของผู้รับบริการทุกคน ทำอย่างไร บุคลากรในกทม. หรือพวกเราทุกคนที่ทำงานจึง 1. มองเห็น Muda (Waste) ในกระบวนการทำงานอย่างแจ่มชัด 2. ตระหนักในความสูญเปล่าและ 3. เกิดความต้องการอย่างลึกซึ้ง ในการพยายามลดหรือกำจัด Muda ด้วยวิธีการต่าง ๆ ทุกวิธี อย่างเอาจริงเอาจังทุก ๆ วัน ตลอดเวลา เห็นประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง

ปัจจัยความสำเร็จของคณะแพทย์ มอ. สอดคล้องกับโครงการพัฒนาเดิม เรื่องลดคน ลดงาน ลดขั้นตอน ลดค่าใช้จ่าย โครงการพัฒนางาน คณะแพทยศาสตร์ (เริ่มครั้งแรก สิงหาคม 2535 คิดโครงการ และนำเสนอโครงการ) วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของหน่วยงาน เป็นการเพิ่มภาระงานจากงานปกติ เช่น การประสานงาน การเพิ่มผลผลิต ประหยัด หรือลดค่าใช้จ่ายในการใช้ ทรัพยากร

Policy Deployment VSM in unit work Recognition & reward Sharing MANAGEMENT LEAN Policy Education Lean concept and application in healthcare Workshop VSM Lean Project through-middle managers heads project Implement Brainstorm (senior leader , facilitator , project team) sharing and learning , improvement &modification of VSM , support resources Deployment VSM in unit work Learning (Lean clinic) multi session follow – ups of each VSM result and modification Recognition & reward Sharing CLINIC LEAN LEAN1 LEAN2 LEAN3 LEAN4

งานสนับสนุนทางการแพทย์ จำนวนโครงการ Lean แบ่งตามลักษณะ การบริการของโรงพยาบาล ปี ระบบผู้ป่วยนอก ระบบผู้ป่วยใน งานสนับสนุนทางการแพทย์ งานสนับสนุนทั่วไป รวม 2552 42 36 40 59 177 2553 44 34 28 91 197 2554 23 16 20 99 109 86 88 190 473

ทำอย่างไรแนวคิดลีน จึงจะเกิดความยั่งยืนหรือต่อเนื่องในการพัฒนาองค์กร ความไม่ต่อเนื่องของ 5 ส & Lean ผู้นำทุกระดับ โดยเฉพาะผู้นำระดับสูง VSM จะเกี่ยวข้องกับคนหลายคน หลายหน่วยงาน ความร่วมมือ การสื่อสาร จึงเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งที่จะทำให้ Lean project ได้ผล ความสำเร็จของลีน ไม่ได้อยู่ที่รู้จัก Lean Tools แต่อยู่ที่ทัศนคติ ความสามารถ ความอดทน พยายาม และความมุ่งมั่นในการปรับใช้ให้ได้จริงในงาน Just in Time และ Jidoka ปรับใช้ได้อย่างไรในองค์กร / หน่วยงานต่างๆ

The Toyota Production System Best Quality – Lowest Cost – Shortest Lead Time– Best Safety – High Morale Through Shortening the production flow by eliminating waste Just – In Time “Right part, right amount , Right time” Takt time planning Continuous flow Pull system Quick changeover Integrated logistics People & Teamwork Jidoka (build in quality) “make problems Visible” Automatic stops Andon Person – machine separation Error proofing In – station Quality control Solve root cause of problems (5 Why?) Selection Common Goals Ringi decision making Cross - trained Continuous Improvement Waste Reduction Genchi Genbutsu 5 Why ‘s Eyes for Waste Problem Solving Leveled Production (heijunka) Stable and Standardized Processes Visual Management Toyota Way Philosophy Ringi =collective decision making by circular document Genchi Genbutsu = go and see for yourself

ความคิดยั่งยืนของแนวคิดลีนในองค์กร ความสมดุลระหว่าง Customer Value , Worker Value, Professional value , Organization Value จะ Motivate , inspire บุคลากรอย่างไร ? ทำอย่างไรให้แนวคิดลีน เป็นวิถีชีวิต (วัฒนธรรม) ของการทำงานในองค์กร

TOYOTA People TOYOTA Production System Aotonomation Built – In Quality Stopping at Abnormalities People Single Piece Flow Pull Production Takt Time Production Just – in - Time Jidoka Heijunka Level Loading Sequencing Stability

END