แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
นวัตกรรม Joint feeding.
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
Measles Elimination, Thailand
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
ของการบริหารความเสี่ยง
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 อุบลราชธานี
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การตรวจวินิจฉัยโรคไข้ชิคุนกุนยา ทางห้องปฏิบัติการ
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
เครือข่ายห้องปฏิบัติการตรวจยืนยันโรคหัด
Food and drug administration
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
กลุ่มเป้าหมาย มี 2 กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายที่ สปสช จะคืนวัคซีนและงบชดเชยให้ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายกระทรวง คิดผลงานของกระทรวง ( ร้อยละ 90 ของวัคซีน.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
ระบาดวิทยาและ SRRT.
โครงการกำจัด โรคหัด Started. DMSc: เริ่มศึกษาปี 2536 สายพันธุ์ไวรัสหัดที่พบแพร่กระจายใน ประเทศไทย ( พ. ศ *) D5 G2.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
ระบบส่งต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มี คุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ระบบส่งต่อ : มาตรการ : จัดทำระบบส่งต่อภายในเครือข่าย.
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการรองรับกับเป้าหมายของโครงการกำจัดหัดอย่างไร

โครงการกวาดล้างโรคหัด ตัวชี้วัดความสำเร็จและเป้าหมายของการกำจัดโรคหัด มาตรการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย บทบาทของLab 1. ความครอบคลุมของวัคซีน ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรก ตาม EPI program และเข็มที่สอง ตาม EPI program หรือการรณรงค์ให้วัคซีนเสริม (Supplementary immunization activity: SIA) ความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรก และเข็มที่สองต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ในระดับตำบลและระดับประเทศ การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันต่อไวรัสหัด 2. ขนาดของเหตุการณ์การระบาด จำนวนผู้ป่วยยืนยันในแต่ละเหตุการณ์ระบาด พบผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 10 รายต่อหนึ่งการระบาดในอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเหตุการณ์ระบาดทั้งหมด การตรวจยืนยันโรคหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด ด้วยวิธี ELISA IgM 3. อุบัติการณ์ของโรคหัด อุบัติการณ์โรคหัดต่อประชากรล้านคน อุบัติการณ์โรคหัดน้อยกว่า 1 ต่อประชากรล้านคน ทั้งนี้ไม่นับรวมผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ (imported case) การตรวจยืนยันโรคหัดด้วยวิธี ELISA IgM และตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด 4. สายพันธุ์ของไวรัสโรคหัดที่แพร่กระจายภายในประเทศ จำนวนสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัดที่แพร่กระจายภายในประเทศ ไม่มีผู้ป่วยยีนยันโรคหัดที่ติดเชื้อจากไวรัสหัดสายพันธุ์ภายในประเทศ เป็นระยะเวลาติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 12 เดือน ตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด เมื่อดูที่มาตรการที่1.ความครอบคลุมของวัคซีน ...การตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันต่อไวรัสหัดจากกลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนเป็นการทำให้มั่นใจได้ว่าระดับภูมิคุ้มกันในสมาชิกของชุมชนอยู่ในระดับที่สามารถป้องกันโรคได้.....ในมาตรการที่ 2.การยืนยันขนาดของเหตุการณ์ระบาด ระบบเฝ้าระวังโรคสามารถตรวจจับการระบาดของโรคหัดได้อย่างรวดเร็วด้วยการตรวจยืนยันด้วยวิธี ELISA IgM มาตรการที่ 3.การตรวจจับอุบัติการณ์ของโรคหัดว่าน้อยกว่า 1 รายต่อประชากรล้านคน โดยไม่นับรวมผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ ได้โดยการตรวจยืนยันด้วยวิธีELISA IgM และตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัดในแต่ละเหตุการณ์ระบาด ในมาตรการสุดท้าย การหาสายพันธุ์ไวรัสหัดที่แพร่กระจายในประเทศและไม่มีผู้ป่วยติดเชื้อจากสายพันธุ์ท้องถิ่นไม่ต่ำกว่า 12เดือน โดยการตรวจหาสายพันธุ์ไวรัสหัด Recommended by WHO

ตัวชี้วัดทางห้องปฏิบัติการ การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสด้วยการตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA ตัวชี้วัด รายงานผลภายใน 48 ชั่วโมง เกณฑ์ที่ยอมรับได้  90% 2. การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด ตัวชี้วัด รายงานผลภายใน 1 เดือน เกณฑ์ที่ยอมรับได้  90%

วัตถุประสงค์และชนิดตัวอย่างส่งตรวจ 1. การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัดโดยวิธี ELISA IgM Serum 2. การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ (Genotype) ไวรัสหัด Throat swab หรือ Nasal swab การดำเนินการในทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวแล้วนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าในเรื่องของวัตถุประสงค์และชนิดตัวอย่างส่งตรวจ 1....มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจจับการระบาดอย่างรวดเร็วเพื่อตอบสนองระบบเฝ้าระวังโรค 2…….เพื่อตรวจหาสาเหตุของการระบาดและหาแหล่งที่มาของเชื้อว่าเป็นสายพันธุ์ท้องถิ่นหรือสายพันธุ์นำเข้า โดยใช้วิธีsequencing จากตัวอย่างTS NS

ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง แล้วตัวอย่างสำหรับวัตถุประสงค์ข้อ1และ2.นั้นเราจะเก็บอย่างไร เรามาดูที่กลไกการก่อโรค ธรรมชาติไวรัสหัดเมื่อเริ่มมีการติดเชื้อในคนซึ่งใช้เวลาฟักตัวของโรค 10-14วัน แล้วจะเกิดผื่นซึ่งอาจร่วมกับพบอาการทางคลินิคอื่นๆเช่น…แถบสีเขี่ยวด้านล่างที่เห็นเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างสำหรับการตรวจยืนยันทางน้ำเหลืองด้วยวิธีELISA IgMซึ่งจะเก็ตัวอย่างที่4-30 วันหลังพบผื่น ส่วนแถบสีน้ำเงินด้านล่างเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างสำหรับการตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ไวรัสหัดซึงจะเก็บตัวอย่างที่ 1-5 วันแรกหลังพบผื่น

การเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ จำนวนตัวอย่าง/outbreak วัตถุประสงค์ การตรวจ วิธีการตรวจ ชนิดตัวอย่าง ระยะเวลาที่เก็บ จำนวนตัวอย่าง/outbreak อุณหภูมิในการขนส่งและเก็บรักษาตัวอย่าง ยืนยัน case/outbreak ELISA (IgM) Serum เจาะเลือดเพียงครั้งเดียวช่วง 4-30 วัน หลังพบผื่น 10-20 ตัวอย่าง #2-8 C (ไม่เกิน 3 วัน) # -20C (เกิน 3 วัน) ตรวจหาสายพันธุ์ Sequencing Nasal/throat swab 1-5 วันแรกหลังพบผื่น  5 ตัวอย่าง #2-8 C (ส่งตัวอย่างทันที/ไม่เกิน 24 ชั่วโมง) # ≤ -70 C (เกิน 24 ชั่วโมง) ตารางนี้แสดงให้เห็นรายละเอียดการเก็บตัวอย่าง ..... จากตารางนี้แสดงให้เห็นตัวอย่างที่เราเก็บสำหรับการตรวจการยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัดโดยวิธี ELISA IgM และการตรวจวิเคราะห์หาพันธุ์ไวรัสหัด ซึ่งการปฏิบัติงานในภาคสนามเราอาจจะพบผู้สงสัยป่วยโรคหัดที่มีช่วงเวลาที่ซ้อนทับกันระหว่างช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการเก็บตัวอย่างตรวจยืนยันและการตรวจหาสายพันุธุ์ ......

ส่งตรวจที่ไหนได้บ้าง ?

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ การดำเนินงานในฐานะห้องปฏิบัติการอ้างอิงของประเทศ