นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Health Promotion & Prevention
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตั้งค่าวัคซีน.
มติที่เสนอและได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ ใน การประชุมครั้งที่ 1/2552 วันที่ 13 สิงหาคม 2552.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ ปี
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
กำหนดการ – ทำไมต้องรณรงค์ให้วัคซีน dT , MR – เข้าใจโรค รู้จักวัคซีน dT , MR และ AEFI – แนวทางการรณรงค์การให้วัคซีน.
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ ปี (1 พ.ค. ถึง 30 ก.ย.58)
X ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในเด็ก อายุ 2 ½ - 7 ปี (MR : พค.-กย. 58)
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ และหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 รณรงค์ให้วัคซีนป้องกัน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การป้องกันควบคุมโรคหัด และ รู้จักวัคซีนป้องกันโรคหัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป

นโยบายสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประชาชนทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการปกป้อง จากโรคที่สามารถป้องกันได้ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคถือเป็นความจำเป็น ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุข งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคต้องได้รับอย่างทั่วถึงและไม่คิดมูลค่า การให้บริการต้องมีความปลอดภัยและมีคุณภาพ จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๒๐

บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี 2520-2556 ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด ไอกรน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) อัตราป่วยต่อเด็กเกิดมีชีพแสนคน หัด 2556 คอตีบ โปลิโอ การป้องกันควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน มีความก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ เห็นได้จากการลดลงของโรค 2556 3

DDC EPI HS reform New GH issues Vaccine coverage กำลังคนด้าน EPI New vaccine and new technology New GH issues HS reform AEFI เป็นความสนใจของปชช DDC การระบาดของคอตีบ Vaccine coverage EPI MMR shortage, cold chain mx อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน มีบริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีผลกระทบมากต่อการดำเนินงาน ได้แก่ นโยบายสุขภาพระดับโลกมีการพัฒนาและมีประเด็นใหม่อย่างต่อเนื่อง การปฏิรูประบบสุขภาพ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนกลับมาระบาดใหม่ ระบบการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นต้องการพัฒนา การขาดแคลนของวัคซีน MMR สะท้อนระบบที่ยังไม่เข้มแข็ง กำลังคนด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคขาดแคลน และต้องการทายาทรุ่นใหม่มาสืบทอดงาน มีวัคซีนและเทคโนโลยีใหม่ ที่เป็นความท้าทาย สำหรับการพัฒนานโยบาย new vaccine introduction ปชช ตื่นรู้และตระหนัก ในอาการข้างเคียงที่เกิดจากวัคซีนและคาดหวังต่อบริการที่มีคุณภาพ ปชช สนใจ ต้องการบริการที่มีคุณภาพ กำลังคนด้าน EPI

National Health Policy Global Health Policy National Health Policy Regional policy Local

Global Vaccine Action Plan 2011-2020 Polio-eradication Coverage and access to vaccine Regional DZ eradication GH Policy Polio-eradication, tetanus neonatorum, measles elimination Coverage Standard (service, mx, coldchain, data) Cold chain HRD and networking AEFI National Health Policy Global Vaccine Action Plan มีสาระสำคัญดังนี้ เป้าหมายการทำงานในทศวรรษ ๒๐๑๑-๒๐๒๐ ประกอบด้วย (๑) การกวาดล้างโปลิโอทั่วโลกให้สำเร็จ (๒) บรรลุเป้าหมายการครอบคลุมและเข้าถึงวัคซีน (๓) บรรลุเป้าหมายการกวาดล้างโรคในระดับภูมิภาคและในระดับโลก (๔) พัฒนาวัคซีนชนิด ใหม่และนำวัคซีนชนิดใหม่/เทคโนโลยีใหม่มาใช้ (๕) บรรลุเป้าหมาย MDG 4 Global Vaccine Action Plan ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ ๖ ด้าน ได้แก ่ (๑) All countries commit to immunization as a priority. (๒) Individuals and communities understand the value of vaccines and demand immunization as both their right and responsibility (๓) The benefits of immunization are equitably extended to all people. (๔) Strong immunization systems are an integral part of a well-functioning health system. (๕) Immunization programmes have sustainable access to predictable funding, quality supply and innovative technologies (๖) Country, regional and global research and development innovations maximize the benefits of immunization. Coach, Think tank for area based Guidance for local M&E Regional policy

เป้าหมายโรค (2557-2561) กวาดล้างโรคโปลิโอ กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด (1/พันเด็กเกิดมีชีพรายอำเภอ) กำจัดโรคหัด (20/ประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีแสนคน) ลดอัตราป่วยของโรค HBV พาหะในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี < ร้อยละ 0.25 คอตีบ < 0.01 ต่อแสนคน (7 ราย) ไอกรน < 0.01 ต่อแสนคน (7 ราย) JE < 0.1 ต่อแสนคน (70 ราย) 7

การนำวัคซีนใหม่มาใช้ในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Coverage ให้เกินกว่าร้อยละ 90 ในทุกพื้นที่ (ยกเว้น MMR เกินกว่าร้อยละ 95) พัฒนาระบบ AEFI ดำเนินการกำจัดและกวาดล้างโรคตามพันธะสัญญานานาชาติ ยกระดับมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมฯ ในสถานบริการทุกระดับ มาตรฐานการให้บริการ มาตรฐานการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น มาตรฐานการบันทึกข้อมูล ประเด็นท้าทายเหล่านี้ นำสู่การพัฒนายุทธศาสตร์สำคัญ ได้แก่ พัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและพัฒนาเครือข่าย การนำวัคซีนใหม่มาใช้ในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

การนำร่องวัคซีนใหม่มาให้บริการในแผนงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค JE, Live-attenuated Pneumo Hib Rotavirus Hepatitis A IPV HPV Varicella Typhoid DTP-HB-Hib DTP-HB-Hib-IPV Cholera Other 2556 2554 2557 256x?

dT in adult immunization ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 2 เดือน OPV1, DTP-HB1 4 เดือน OPV2, DTP-HB2 6 เดือน OPV3, DTP-HB3 9 เดือน MMR1 18 เดือน OPV4, DTP4, JE1, JE2 21/2 ปี JE3 4 ปี OPV5, DTP5 7 ปี (นร.ป.1) MMR2 12 ปี (นร.ป.6) dT หญิงตั้งครรภ์ dT 3 ครั้ง (ตามประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต) เจ้าหน้าที่, กลุ่มเสี่ยง Influenza (ประจำฤดูกาล, ประจำปี) Rota vaccine LA – JE vaccine MMR2 HPV vaccine dT in adult immunization

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 การเร่งรัด/คงรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนทุกชนิด การเร่งรัดการดำเนินงานกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด การสุ่มสำรวจระดับภูมิคุ้มกันของโรค EPI ในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อเข้าเรียน การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

กิจกรรมสำคัญ ปีงบประมาณ 2557 การดำเนินโครงการนำร่องในการใช้วัคซีนใหม่ การพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและการพัฒนาเครือข่าย โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในวโรกาสเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา

โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในวโรกาสเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา เพื่อปกป้องคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน ม.ค. 57 ก.พ. 57 มี.ค. 57 มิ.ย. 57 ปีงบ 58 จัดทำกรอบการดำเนินงาน () ประชุมหารือ ภายในกรม () หารือ สปสช. (28 ม.ค.57) จัดประชุมชี้แจงจังหวัดนำร่อง สนับสนุน การรณรงค์ฯ /การดำเนินงาน เริ่มรณรงค์ dT มุกดาหาร (~0.19 ล้านโด๊ส) กรุงเทพฯ (~ 2.8 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 56 จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) รณรงค์วัคซีน MMR/MR เด็ก 3-6 ปี ทั่วประเทศ (~3.5 ล้านโด๊ส)

การป้องกัน... แม้เพียงน้อยนิด ย่อมมีคุณค่า... กว่าการทุ่มเทอย่างมากมาย ในการดูแลรักษา... ขอบคุณ