สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา yapa_5@yahoo.com โทร 089-9470188 , 084-0362935

ลักษณะของโรคไม่ติดต่อ ระยะการดำเนินโรคยาว ระยะเวลาการก่อตัวของโรคเกิดขึ้นทีละน้อย สาเหตุการเกิดโรคมาจากหลายปัจจัย และเป็นสาเหตุที่ซับซ้อน วิถีชีวิตและพฤติกรรมมีผลต่อการเกิดโรค อุบัติการณ์เกิดโรคต่ำ แต่ความชุกโรคสูง พบในวัยผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก

ธรรมชาติการดำเนินโรคเบาหวาน มีภาวะ แทรกซ้อน /ป่วย ระยะ 3 แสดงอาการ ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลือดใหญ่ ภาวะแทรกซ้อน หลอดเลือดฝอย ระยะ 2 น้ำตาลเพิ่ม ลดการดูดซึม Pre diabetes เบาหวานแฝง การหลั่งอินซูลินผิดปกติ ไขมันสะสม อ้วน TG HDL ระยะ 1 อัตราส่วน เอว/สะโพก ความดัน โลหิตสูง พันธุกรรม รากของปัญหา พันธุกรรม , ค่านิยม/ความเชื่อ , สังคม วัฒนธรรม , ครอบครัว/ชุมชน , สิ่งแวดล้อม

IR and -cell dysfunction are fundamental to type 2 diabetes Glucose (mg/dl) 50 – 100 – 150 – 200 – 250 – 300 – 350 – 0 – -10 -5 5 10 15 20 25 30 Years of diabetes Relative function (%) Fasting glucose Obesity IFG Diabetes Uncontrolled hyperglycaemia IR Postprandial glucose Insulin secretion Clinical diagnosis There is a temporal relationship between IR, insulin secretion and the development of diabetes. In the early stages, as IR rises, there is a compensatory increase in insulin secretion and the individual remains normoglycaemic. In the long term, as the -cells begin to fail, insulin secretion falls, hyperglycaemia becomes apparent and frank type 2 diabetes develops. Burger HG et al. 2001. Diabetes Mellitus, Carbohydrate Metabolism, and Lipid Disorders. In Endocrinology. 4th ed. Edited by LJ DeGroot and JL Jameson. Philadelphia: W.B. Saunders Co., 2001. Originally published in Type 2 Diabetes BASICS. International Diabetes Center (IDC), Minneapolis, Minnesota, 2000. Adapted from Burger HG et al. 2001. Diabetes Mellitus, Carbohydrate Metabolism, and Lipid Disorders. In Endocrinology. 4th ed. Edited by LJ DeGroot and JL Jameson. Philadelphia: W.B. Saunders Co., 2001. Originally published in Type 2 Diabetes BASICS. International Diabetes Center, Minneapolis, 2000.

ระดับของขั้นการป้องกันโรค ระดับขั้นของการป้องกันโรค 3 ขั้น มีอาการ/ ผู้ป่วย พิการ หรือตาย ระยะของโรค ระยะมีความไวรับ ก่อนมีอาการ การป้องกัน ขั้นที่ 1 (Primary) ขั้นที่ 2 (Secondary) ระดับของขั้นการป้องกันโรค ขั้นที่ 3 (Tertiary) วินิจฉัยโรคระยะ เริ่มแรก รักษาทันที การดำเนินการ รักษา ฟื้นฟู ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเฉพาะ ผลการป้องกัน ลดความชุก ลดความรุนแรง ลดผลเสียของโรค ลดอุบัติการณ์ ของโรค ลดภาวะแทรกซ้อน และความพิการ

การจัดการข้อมูล ในกลุ่มเสี่ยง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) แหล่งข้อมูลจาก *ข้อมูลจากการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง 15 + ปี (Key in web สปสช.) *การคัดกรองเบาหวานด้วยวาจา ผลการตรวจน้ำตาลในเลือด การวัดความดันโลหิต * การคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด :CVD Risk Factor (อัมพฤกษ์อัมพาตเดิม) * การคัดกรองเบาหวาน ความดัน โครงการน้ำพระทัยฯ (Key web กสธ.)

การจัดการข้อมูล ในกลุ่มเสี่ยง (อายุ 35 ปีขึ้นไป) ข้อมูลทั่วไป วิเคราะห์ข้อมูล/ ประมวลผล ข้อมูลทั่วไป เสี่ยงต่ออะไรบ้าง ระดับความเสี่ยง (ร้อยละ) พฤติกรรมเสี่ยง / วิถีชีวิต / สิ่งแวดล้อม บริบทชุมชน การกระจายตามบุคคล สถานที่ เวลา

การจัดการข้อมูล กลุ่มผู้ป่วย แหล่งข้อมูล *จากทะเบียนผู้ป่วยที่มารับการรักษา (ลงสมุดไว้ /ดึงจากฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของ รพ. :ICD-10) * ข้อมูลสำรวจพฤติกรรมจากการปฏิบัติตน /จากการเยี่ยมบ้าน

การจัดการข้อมูล กลุ่มผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูล/ ประมวลผล จำนวนป่วย / ตาย กลุ่มผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูล/ ประมวลผล จำนวนป่วย / ตาย อัตราป่วย อัตราตาย อัตราผู้ป่วยใน อัตราผู้ป่วยรายใหม่ อัตราภาวะแทรกซ้อน อัตราเพิ่ม/ลด เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงเวลาที่ผ่านมา

การนำเสนอเพื่อการปรับปรุงแก้ไข การจัดการข้อมูล .. (นพ.ธนะพงศ์ จินวงษ์) Outcome -DM/HT/CVD - ตาย จังหวัด - CUP - อปท ฯลฯ นโยบาย / Node เขต / ส่วนกลาง P D A C ผล แผนแม่บท KM Best practice Risk Beh. คัดกรอง การนำเสนอเพื่อการปรับปรุงแก้ไข Data สื่อสาร/ เตือนภัย จัดการ ระบบข้อมูล รวบรวม-วิเคราะห์ข้อมูล - เฝ้าระวังสถานการณ์โรค /ปัจจัยเสี่ยง information

โครงการน้ำพระทัยฯ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างหรือมีระบบข้อมูลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตใน ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับตำบล 2. เพื่อจำแนกพื้นที่จากการคัดกรอง ฯ ตามความเสี่ยงและความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิต ในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับตำบล แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

โครงการน้ำพระทัยฯ วัตถุประสงค์ 3. กระทรวงสาธารณสุขมีฐานข้อมูลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในระดับประเทศ แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน

โครงการน้ำพระทัยฯ ประโยชน์ จังหวัด อำเภอ และตำบล สามารถนำข้อมูลไปใช้แบ่งกลุ่มประชาชนตามธรรมชาติของโรคนำไปสู่การบริการเชิงรุกที่เหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไป (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มสงสัยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน) จังหวัดสามารถบริหารจัดการทรัพยากรและดำเนินงานที่เหมาะสมกับพื้นที่กลุ่มเป้าหมายตามปัจจัยเสี่ยงและความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิต 3. กระทรวงสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการเฝ้าระวังควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประเทศต่อไป