ประเภทของสารเคมีและคุณสมบัติ สารเคมีฆ่าแมลง (Insecticide) คือสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมแมลงรวมถึงสารประกอบอื่น ซึ่งสามารถทำลายแมลงได้โดยปกติรู้จักกันในชื่อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
FOOD PYRAMID.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Formulation of herbicides Surfactants
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
ธนาคารขยะ (Waste Bank).
การลดปริมาณสารพิษในผักและผลไม้ก่อนส่งเข้าโรงงานอุตสาหกรรม
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
ความรู้เครื่องพ่นเคมี
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
ความรู้เครื่องพ่นเคมี
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
วัตถุประสงค์การใช้สารเคมีควบคุมแมลงพาหะ
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
สารประกอบ.
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
: ชุดทดสอบสารกำจัดแมลง กลุ่มไพรีทรอยด์
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
863封面 ทองคำ เขียว.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทของสารเคมีและคุณสมบัติ สารเคมีฆ่าแมลง (Insecticide) คือสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมแมลงรวมถึงสารประกอบอื่น ซึ่งสามารถทำลายแมลงได้โดยปกติรู้จักกันในชื่อ Pesticides ซึ่งจะนำมาใช้ในการควบคุมดังนี้ - Larvicides (ควบคุมลูกน้ำ) - Adulticides (ควบคุมตัวแก่) - Biocides (แบคทีเรีย) - Insect Growth Regulators (IGRS)

สารเคมีฆ่าแมลงอาจแบ่งเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้. 1 สารเคมีฆ่าแมลงอาจแบ่งเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ออร์กาโนคลอริน ตัวสารที่รู้จักดีคือ ดี ดี ที. สารในกลุ่มนี้มีการละลายน้ำที่ต่ำ มากก่อให้เกิดต่อระบบประสาท สามารถดูดซึมเข้าร่างกายได้แล้วสะสมอยู่ในส่วนที่ เป็นไขมัน 2. ออร์กาโนฟอสเฟต เช่น มาลาไธออน เฟนนิโตรไธออน ปฏิกิริยาของสาร เคมีฆ่าแมลงชนิดนี้ คือ การรวมตัวของสารพิษกับ enzyme cholinesterase ทำให้เอ็นไซม์ชนิดนี้ไม่สามารถละลายสาร acethyloholine ได้ทำให้การส่ง ความรู้สึกไปที่ประสาทถึงกล้ามเนื้อไม่ทำงานแมลงเป็นอัมพาตและตายในที่สุด คุณสมบัติอีกประการหนึ่งก็คือ ไอระเหย ซึ่งส่งผลให้แมลงตายได้ โดยไม่ต้องสัมผัส

3. คาร์บาเมท เช่น คาร์บาริล สารนี้มีปฏิกิริยาต่อแมลงเหมือน กับกลุ่ม ออร์กาโนฟอสเฟต 4. ไพรีทรอยด์ สารเคมีในกลุ่มนี้มีมากมายหลายชนิดมีความ สำคัญทั้งด้านการเกษตรและสาธารณสุข มีคุณสมบัติหลายประการ ที่คล้าย ดี ดี ที. มีฤทธิ์ทำให้แมลงสลบ(knock down) และ ฤทธิ์ในการ ฆ่า(killing effect) เกิดปฏิกิริยาซึมซับการเข้า ออกของโซเดียม และโปแตสเซียมที่ผิวปลายประสาทและระบบประสาทส่วนกลางของแมลง

สารในกลุ่มไพรีทรอยด์ประกอบด้วยหลาย Isomers ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโครงสร้างและคุณสมบัติทางชีวภาพของ isomers ต่างๆเหล่านี้มีความสามารถแตกต่างกันด้วย ไพรีทรอยด์โดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ - type 1 ในกลุ่มนี้ R-group ของโครงสร้างจะไม่มีสารไซยาไนท์ - type 2 ในกลุ่มนี้ R-group ของโครงสร้างจะมีสารไซยาไนท์ สารเคมีทั้ง 2 กลุ่มมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันในการควบคุมแมลง

คุณสมบัติของสารเคมีที่ดีประกอบด้วย. 1 คุณสมบัติของสารเคมีที่ดีประกอบด้วย 1. มีความปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 2. ประสิทธิภาพและผลคงทน 3. ระดับความต้านทานของแมลง 4. ความสะดวก ง่าย ต่อการปฏิบัติและการเก็บรักษา 5. เหมาะสมกับนิสัยและนิเวศวิทยาของแมลงนำโรค 6. ปัจจัยทางด้านสังคม 7. ราคาและความคุ้มทุน 8. เป็นสารเคมีที่อยู่ในยุคสมัย

สารเคมี ขนาดของสารเคมี (Active ingredient) ต่อพื้นที่ (กรัม/เฮกเตอร์) สารเคมีที่ WHOPES รับรองและให้ใช้ในการพ่นหมอกควัน และฝอยละเอียดในการควบคุม สารเคมี ขนาดของสารเคมี (Active ingredient) ต่อพื้นที่ (กรัม/เฮกเตอร์) กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต เฟนนิโตรไธออน (Fenitrothion) 250 - 300 มาลาไธออน (Malathion) 112 - 600 ไพริมิฟอส-เมทริล (Pirimiphos-methyl) 250 กลุ่มไพรีทรอยด์ ไซฟลูทริน (Cyfluthrin) 1 – 6 เดลต้าร์เมทริน (Deltamethrin) 0.5 – 1 แลมด้าร์ ไซฮาโลทริน(Lamda-cyhalothrin) 1.0 เพอร์เมทริน (Permethrin) 5 – 10 เรสมิทริน (Resmethrin) 2 – 4