การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
NAVY WATER BED 2012.
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
Formulation of herbicides Surfactants
Weeds & weed management 2 กันยายน 2556 รู้จักเครื่องมือกำจัดวัชพืช
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
หลักสำคัญในการล้างมือ
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
SPRAYER สมรรถ ปัญญาประชุม
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
ประเภทของสารเคมีและคุณสมบัติ สารเคมีฆ่าแมลง (Insecticide) คือสารเคมีที่ใช้ในการควบคุมแมลงรวมถึงสารประกอบอื่น ซึ่งสามารถทำลายแมลงได้โดยปกติรู้จักกันในชื่อ.
ความรู้เครื่องพ่นเคมี
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
ความรู้เครื่องพ่นเคมี
ว่าท่านพ่นสารเคมีแล้วจะควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
สารเคมีที่ใช้ในการควบคุม แมลงนำโรค
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
สวัสดีค่ะ.
กลุ่มที่ 3.
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
ระบบแสงสว่างทางทันตกรรม
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย (Vector Control)

วัตถุประสงค์ กิจกรรม 2. ลดอายุขัย 3. ลดการสัมผัสระหว่างคนและยุงพาหะ 1.ลดความหนาแน่น 2. ลดอายุขัย 3. ลดการสัมผัสระหว่างคนและยุงพาหะ กิจกรรม ทางชีววิธี การใช้สารเคมี ทางสิ่งแวดล้อม ป้องกันตนเอง

วิธีการทางเคมี 1. การพ่นบ้าน/กระท่อม 2. การชุบมุ้ง 3. การพ่นหมอกควัน/ULV

1. พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน วิธีควบคุมยุงก้นปล่องพาหะโรคมาลาเรีย 1. พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน 2. ชุบมุ้งด้วยสารกำจัดแมลง Permethrin

การพ่นบ้าน/กระท่อม ๏ Residual spray ๏ ท้องที่แพร่เชื้อ A1, A2 ๏ ใช้เครื่องพ่นอัดลม

สารเคมีที่ใช้พ่นบ้าน/กระท่อม ๐ เดลต้าเมทริน 5 % WP ๐ ไบเฟนทริน 10 % WP ๐ อิโตเฟนพร็อก 20% WP ๐ อัลฟาร์ไซเพอร์เมทริน 10 % EC

ขนาดพื้นที่ บ้าน = 241 ตรม. กระท่อม = 60 ตรม

การคำนวณสารเคมี สูตรทั่วไป ขนาดที่ใช้ = จำนวนสารที่ใช้ x ความเข้มข้น พื้นที่พ่น

เดลต้าเมทริน 5 % (ค่าปกติ 15 - 25 มก/ตรม) ขนาดที่ใช้ = 25 x 0.05 60 ตัวอย่าง เดลต้าเมทริน 5 % (ค่าปกติ 15 - 25 มก/ตรม) ขนาดที่ใช้ = 25 x 0.05 60 = 0.02 ก/ตรม = 20 มก/ตรม จำนวนสารที่ใช้ = 0.02 x 60 0.05 = 25 กรัม

ประมาณการใช้สารเคมีแบบง่ายๆ เดลต้าเมทริน 5% = จำนวนกระท่อม x 25 = ….. กก 1,000 เช่น = 100 x 25 = 2.5 กก

การผสมและเทคนิคการพ่น เดลต้ามิทริน 5% 80 กรัม เติมน้ำจนครบ 7.5 ลิตร พ่นให้ทั่วถึงตามเป้าหมาย พ่นทุกพื้นผิวที่กำหนด พ่นให้ได้ตามขนาด พ่นให้ทันก่อนฤดูการแพร่เชื้อ

เทคนิคการพ่น(ต่อ) ความดัน ครั้งแรกสูบลม 40-50 ครั้ง ครั้งแรกสูบลม 40-50 ครั้ง พ่น 3 นาทีแรกสูบลม 25 ครั้ง พ่นต่อไปทุกๆนาที สูบลม 25 ครั้ง ความเร็วในการพ่น 1 นาที ครอบคลุมพื้นที่ 19 ตรม ระยะห่าง หัวพ่นกับพื้นผิว 18 นิ้ว ( 45 ซม.) ความกว้างแถบน้ำยา 30 นิ้ว ( 75 ซม.) แถบน้ำยาทับกัน 2 นิ้ว ( 5 ซม.)

การชุบมุ้ง

ประเภทของมุ้ง มุ้งไนล่อน ดูดซับน้ำ 20 ซีซี/ตรม มุ้งไนล่อน ดูดซับน้ำ 20 ซีซี/ตรม มุ้งฝ้ายผสมใยสังเคราะห์ ดูดซับน้ำ 50 ซีซี/ตรม มุ้งฝ้าย ดูดซับน้ำ 60 ซีซี/ตรม

ขนาดของมุ้ง ขนาดเล็ก 10 ตรม ขนาดกลาง 10.1-13.9 ตรม ขนาดเล็ก 10 ตรม ขนาดกลาง 10.1-13.9 ตรม ขนาดใหญ่ 14 ตรมขึ้นไป

สารเคมีที่ใช้ชุบมุ้ง ๐ เพอร์เมทริน 10% EC , 55% EC ๐ ไบเฟนทริน 2 % EC ๐ เดลต้าเมทริน 25 % WT ๐ ไซฟูทริน 5% EW

การผสมสารเคมี > ผสมอัตราส่วน(ไนล่อน) 1:9 ( 40:360 ) > ได้สารละลายเพอร์มิทริน 1 % > ได้ขนาดติดมุ้ง 300 มก./ตรม. ( ค่าปกติ 200 - 500 มก./ตรม.)

การคำนวณสารเคมี สูตรทั่วไป ขนาดที่ใช้ = จำนวนสารที่ใช้ x ความเข้มข้น พื้นที่ชุบ

ตัวอย่าง เพอร์เมทริน 10 % ขนาดที่ใช้ = 40 x 0.10 14 = 0.286 ก/ตรม = 286 มก/ตรม จำนวนสารที่ใช้ = 0.286 x 14 0.10 = 40 มล

ประมาณการสารเคมีแบบง่ายๆ เพอร์เมทริน10 % = จำนวนมุ้ง x 40 มล = ….. ลิตร 1,000 เช่น = 100 x 40 = 4 ลิตร

การชุบมุ้งในถุงพลาสติก ๏ ซักมุ้งให้สะอาด ๏ พับมุ้งให้เรียบร้อย ๏ ผสมน้ำยาในถุงโดยใส่สารก่อน มุ้งไนล่อน 1: 9 มุ้งผ้า 1: 25 ๏ ใส่มุ้งลงในถุง มัดปากถุง ๏ คลุกสารให้ทั่วมุ้ง ตั้งไว้ 5 นาที ๏ นำมุ้งออกแผ่ขยายตากในร่ม ๏ เมื่อมุ้งแห้งนำไปกางนอน

อุปกรณ์การชุบมุ้ง  กระบอกตวง 1 ลิตร  ถุงพลาสติกสำหรับชุบมุ้ง  กระบอกตวง 1 ลิตร  ถุงพลาสติกสำหรับชุบมุ้ง  ถุงยางมือ  สายวัด  อื่นๆ

ข้อดี ข้อเสีย ๏สารติดมุ้งสม่ำเสมอ ๏ ชาวบ้านอาจไม่ชอบเมื่อเคลื่อนย้ายมุ้ง ๏ สะดวก ปลอดภัย ๏ ถ้ามุ้งสกปรกประชาชนอาย ๏ ไม่ยุ่งยาก รวดเร็ว ๏ ประชาชนยอมรับ