นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ. การทำบันทึกความเห็น นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
การทำบันทึกความเห็น ลักษณะบันทึกที่ดี ง่าย (Simplify) สมบูรณ์ (Quantify) มีเหตุผล (Justify)
การทำบันทึกให้ง่าย ใช้แบบให้เหมาะ ย่อให้สั้น สาระสำคัญให้เด่น ความเห็นให้ดี
การทำบันทึกให้สมบูรณ์ เนื้อหาให้สมบูรณ์ ข้อมูลให้ครบครัน สร้างสรรค์แนวความคิด ลิขิตให้จับใจ
การทำบันทึกให้มีเหตุผล ดำเนินเรื่องให้ถูก ผูกประเด็นให้จำเพาะ วิเคราะห์ให้จับใจ วินิจฉัยให้เฉียบขาด
การเตรียมการทำบันทึกความเห็น ศึกษาเรื่อง จับประเด็นของเรื่อง วิเคราะห์เรื่อง วินิจฉัยเรื่อง
การศึกษาเรื่อง ตา - ดู หู - ฟัง ปาก - ถาม หัว - คิด ตา - ดู หู - ฟัง ปาก - ถาม หัว - คิด จิต - ตั้งมั่นสมาธิ มือ - ค้นคว้า
สาระสำคัญของเรื่อง ชนิดของเรื่อง ประเด็นที่เป็นปัญหาของเรื่อง ความเป็นมาของเรื่อง ข้อเท็จจริงประกอบเรื่อง กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ความเป็นไปที่เกี่ยวกับเรื่อง ตัวอย่างที่คล้ายคลึงกับเรื่อง
การจับประเด็นปัญหา ความหมาย ประเด็นที่เป็นปัญหา คือ จุดสำคัญของเรื่อง ที่จะนำมา พิจารณา : ชี้แนะแนวทาง เช่น - ควรเป็นอย่างไร - ควรทำอย่างไร - ควรใช้อย่างไหน พิสูจน์ : ชี้ชัดว่าข้อเท็จจริง - เป็นอย่างไร - เป็นอะไร - ใครทำ - ทำอะไร - ใช่หรือไม่
การจับประเด็นปัญหา วินิจฉัย : ชี้ขาดข้อกฎหมายว่า - หมายความว่าอย่างไร วินิจฉัย : ชี้ขาดข้อกฎหมายว่า - หมายความว่าอย่างไร - เป็นอย่างไร หรือชี้ขาดว่า - ควรอนุมัติหรือไม่ - ควรให้หรือไม่ เหตุที่ต้องจับประเด็นปัญหา
เทคนิคการจับประเด็น เรื่องนั้นเป็นเรื่องอะไร เช่น - ขออนุมัติ - ขออนุมัติ - ขอความเห็นชอบ - เรื่องหารือ - ขอให้ตีความ เรื่องนั้นมีจุดประสงค์อย่างไร เช่น - ให้พิจารณาแนวทางดำเนินการ - พิสูจน์ในข้อเท็จจริงอันใด - วินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายหรือ การใช้ดุลพินิจพิจารณาอนุมัติหรือ ไม่อนุมัติอะไร
การวิเคราะห์เรื่อง ความหมาย : เป็นการพิจารณาหาคำตอบประเด็นที่เป็น ปัญหาของเรื่อง โดยใช้หลักเกณฑ์และเหตุผล เช่น ประเด็น : ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ การวิเคราะห์ : ฟังได้หรือไม่ว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำผิด ประเด็น : ควรอนุมัติโครงการตามเสนอหรือไม่ การวิเคราะห์ : อนุมัติ หรือไม่อนุมัติ
วิธีการวิเคราะห์เรื่อง จะต้องนำข้อมูลประกอบเรื่องมาพิจารณา และหาหลักเกณฑ์/เหตุผลมาสนับสนุน เพื่อ - พิจารณาชี้แนะแนวทางว่าทำอย่างไรดี เพราะเหตุใด - พิสูจน์ชี้ชัดว่า เป็นอะไร หรือใครทำ - วินิจฉัยชี้ขาดว่าเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
หลักเกณฑ์และเหตุผล ประกอบการวิเคราะห์เรื่อง อาจใช้อย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ประกอบกัน คือ ตรรกวิทยา : หลักความสมเหตุสมผล ตามธรรมชาติ จิตวิทยา : หลักความเป็นไปตามสภาพ ทางจิตใจของคน หลักวิชา : หลักวิชาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ที่พิจารณา กฎเกณฑ์ : ได้แก่กฎหมาย ระเบียบ มติ ครม. ผลดีผลเสีย : ผลที่จะเกิดขึ้นจากการ ดำเนินการนั้น
ระดับมาตรฐาน : แนวทางอันควรจะเคยปฏิบัติ ความเป็นธรรม : ความเสมอหน้ากัน โดยไม่เลือกปฏิบัติ มโนธรรม : สำนึกในความถูกต้อง สมควรด้วยการพิจารณาอย่างมีสติ ข้อจำกัดต่าง ๆ : วงเงิน, อำนาจ, คน, เศรษฐกิจสังคม ความเหมาะสม : เวลา สถานที่ บุคคล ความเป็นไปได้ : ปฏิบัติได้หรือไม่ นโยบายและ : ที่มีอยู่หรือกำหนดไว้ แผนงาน
การวิเคราะห์ การกระทำในกระบวนการทั้ง 4 ขั้นตอน - แยกประเด็น - แยกประเด็น - หาส่วนประกอบ - เปรียบเทียบกับมาตรฐาน - ประเมินค่า เพื่อ ๏ หาความจริง ๏ ทราบผล ๏ ตัดสินใจ ๏ เสนอแนะแนวทาง
เทคนิค : ต้องทำตามขั้นตอน เทคนิค : ต้องทำตามขั้นตอน - มองภาพรวม - แยกประเด็น - หาส่วนประกอบแต่ละประเด็น - เปรียบเทียบส่วนประกอบกับมาตรฐาน - ประเมินค่าแต่ละประเด็น - ประเมินผลรวม
การวินิจฉัยเรื่อง คือ การเสนอข้อยุติของเรื่อง ประเมินคุณค่าทางเลือก นำคุณค่าทางเลือกมาเปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกทางที่มีคุณค่ามากที่สุด
การประเมินคุณค่าทางเลือก ความเป็นไปได้ การบรรลุวัตถุประสงค์ ผลกระทบ ความเสี่ยง
กิจกรรม ให้กลุ่มศึกษาเรื่อง เสนอประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะ เพื่อเตรียมการดำเนินการต่อไป