คลื่นผิวน้ำ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
หลักการของอัลตร้าโซนิก เครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิก Ultrasonic Cleaning Machine Mahanakorn University of Technology บทนำ โครงงานนี้เป็นการออกแบบสร้างเครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกและศึกษากระบวนการทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกซึ่งเป็นที่นิยมกันอย่า
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
การวิเคราะห์ความเร็ว
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
พลังงาน.
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
เข้าไปที่ ทำการคลิกไปตำแหน่งของสถานที่ที่จะรายงาน จะปรากฏ แสดงตำแหน่งที่จะรายงาน แล้วคลิกไปที่ รายงานสถานการณ์ จุดนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
แผ่นดินไหว.
การสะท้อนและการหักเหของแสง
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Basic wave theory.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
( wavelength division mux)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
พีระมิด.
ซ่อมเสียง.
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ครูนฤมล ธรรมรักษ์เจริญ
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวเนปจูน (Neptune).
แบบฝึกการเล่นลูกมือล่างสำหรับผู้หัดเล่นวอลเลย์บอล
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
เก็บตก ประเด็น HOT.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลื่นผิวน้ำ

คลื่นผิวน้ำเป็นคลื่นกล เกิดขึ้นเมื่อผิวน้ำถูก รบกวนและมีการถ่ายโอนพลังงานผ่านโมเลกุล ของตัวกลาง โมเลกุลของตัวกลางนั้นก็จะมีการ สั่นแล้วถ่ายโอนพลังงานให้กับโมเลกุลข้างเคียง จำนวนมากต่อเนื่องกันไป อนุภาคจะสั่นเคลื่อนที่ วนไปมา ณ ตำแหน่งๆ เท่านั้น

ในการเคลื่อนที่ของคลื่นผิวน้ำ จะเห็นสันคลื่นและ ท้องคลื่นเคลื่อนที่ตามกันไปอย่างต่อเนื่อง แต่อนุภาค ของน้ำที่ตำแหน่งต่างๆ คลื่นจะขยับขึ้นจนถึงตำแหน่ง สูงสุด แล้วขยับลงมายังตำแหน่งต่ำสุด จากนั้นก็ขยับขึ้น ไปใหม่อีกกลับไปกลับมาในลักษณะเช่นนี้ตราบเท่าที่ยัง มีคลื่นบนผิวน้ำ โดยอนุภาคของน้ำไม่ได้เคลื่อนที่ตามไป กับคลื่น

ส่วนประกอบของคลื่น - การกระจัด (displacement) คือ ตำแหน่งสูงสุดของคลื่นที่การ กระจัดมีขนาดมากที่สุด

สันคลื่น (crest) คือ ตำแหน่งที่มีการกระจัดบวกมากที่สุดมีทิศ ขึ้น ท้องคลื่น (trough) คือ ตำแหน่งที่มีการกระจัดลบมากที่สุดมีทิศ ลง แอมพลิจูด (amplitude ; A) คือการกระจัดสูงสุดของคลื่น หรือ ความสูงของสันคลื่น หรือความสูงของท้องคลื่นจากระดับปกติ ความยาวคลื่น (wavelenght ;𝝀) คือ ความยาวของคลื่นหนึ่งลูก หรือเป็นระยะห่างจากสันคลื่นถึงสันคลื่นที่ติดกัน หรือ ระยะห่างระหว่างท้องคลื่นกับท้องคลื่น

คาบ (period ;T ) คือเวลาที่จุดใดๆ บนตัวกลางสั่นครบ 1 รอบ คาบมีหน่วยเป็นวินาทีต่อรอบ ความถี่ (frequency ;f) คือ จำนวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่ง หน่วยเวลา ความถี่มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที หน้าคลื่น (wave surface) คือ เส้นต่อจุดที่มีเฟสตรงกันของสัน คลื่น อัตราเร็วคลื่น (velocity ;v) คือ ระยะทางที่สันคลื่นเคลื่อนที่ได้ ในหนึ่งหน่วยเวลา

เมื่อคลื่นผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้นลงครบหนึ่งรอบ คลื่นผิวน้ำจะ เคลื่อนที่ได้หนึ่งลูกหรือได้ระยะทางเท่ากับหนึ่งความยาวคลื่น 𝝀 ถ้าคลื่นผิวน้ำมีความถี่ f ดังนั้นใน 1 นาที คลื่นผิวน้ำจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง f𝝀 ซึ่งก็ คืออัตราเร็วคลื่น v v = f𝝀 หรือ v = 𝝀 𝑻

เฟสของคลื่น เฟส ซึ่งเป็นคำที่ใช้กำหนดตำแหน่งของการเคลื่อนที่ ที่มี ลักษณะเป็นรอบบอกเป็นมุม โดยระบุเป็นมุมในหน่วย เรเดียน หรือองศา การเปรียบเทียบเฟสของจุด 2 จุดบนคลื่น ณ เวลาหนึ่ง ทำให้บอกได้ว่าเป็นเฟสตรงกัน เมื่อ การกระจัดของจุดคู่นั้น เท่ากันเคลื่อนที่ทางเดียวกัน อยู่ห่างกันเป็นระยะ n ;n = 1, 2, 3,… และเป็นเฟสตรงข้ามกัน เมื่อการกระจัดเท่ากันแต่ เครื่องหมายตรงข้าม เคลื่อนที่ตรงข้ามกัน อยู่ห่างกันเป็นระยะ (2n - 𝟏 𝟐 ) ;n = 1, 2, 3,…

จุดต่างๆ ที่มีเฟสตรงกัน (In phase) จะมี เวลาต่างกัน T , 2T , 3T , … วินาที ระยะทางต่างกัน 𝝀 , 2𝝀 , 3𝝀 , … เมตร มุมต่างกัน 2𝝅 , 4𝝅 , 6𝝅 , … เรเดียน

จุดต่างๆ ที่มีเฟสตรงข้ามกัน (Out of phase) จะมี เวลาต่างกัน 𝑻 𝟐 , 𝟑𝑻 𝟐 , 𝟓𝑻 𝟐 , … วินาที ระยะทางต่างกัน 𝝀 𝟐 , 𝟑𝝀 𝟐 , 𝟓𝝀 𝟐 , … เมตร มุมต่างกัน 𝝅 , 3𝝅 , 5𝝅 , … เรเดียน

การบอกมุมเฟส