บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
Advertisements

안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
วัตถุประสงค์ของการปรับแก้เชิงเรขาคณิต
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I)
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ประชุมผู้บริหารระบบดับสูงเพื่อเริ่ม โครงการพัฒนาสารสนเทศระบบไฟฟ้า ทางภูมิศาสตร์ ระยะที่ 2 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดย กลุ่มบริษัทธุรกิจค้าร่วม (Consortium)
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
การขุดค้นข้อมูล (Data Mining)
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สารสนเทศ (Information) เครื่องมือและอุปกรณ์ (Tool&Equipments) บุคลากร (Human) กระบวนการ (Procedure) ข้อมูล (Data)
การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
7.2 ลวดลายบนพื้นผิว (Texture)
โปรแกรม Microsoft Access
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 5 พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
Quantitative Analysis for Logistics Management
Minitab for Product Quality
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
๕.๖ ส่วนประกอบของ DBMS ในการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีการสอบถามหรือค้นหาคำตอบ รวมถึงการเพิ่มและการลบข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล.
โปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
บทที่ 7 การแทรกตาราง กราฟ และแผนผัง
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
Geographic Information System
โครงการบริหารจัดการข้อมูลที่ดินระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ(Gis) โดยใช้เครือข่าย internet สำนักงานที่ดินจังหวัดลำปาง สาขาแจ้ห่ม.
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
โปรแกรม Microsoft Access
ระบบรายงานสภาพจราจรโดย เครือข่ายผู้ใช้งาน. สร้างเครือข่ายสำหรับการรายงานสภาพจราจร โดยมุ่งเน้นที่ กลุ่มผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภท PDA และมีอายุประมาณ.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ผังแสดงกรอบแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านการบริหารโครงการ
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
ผังงาน (FLOW CHART) ผังงาน (Flow Chart)เป็นรูปแบบของการจำลองความคิดแบบหนึ่ง รูปแบบของการจำลองความคิดเพื่อความสะดวกในการทำงาน แบ่ง เป็น ๒ แบบ คือ ๑) แบบข้อความ.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
การวิเคราะห์เชิงพื้นที่
 ในปัจจุบันการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยน จากระบบ.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ๑
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ครูธีระพล เข่งวา ข้อมูลของระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ประเภทใดไม่ใช่พื้นที่ที่ นิยมใช้กันมากคืออะไร ก. ตาราง ข. ข่าวสาร ค. รูปกราฟ ง. คำอธิบาย.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การใช้โปรแกรม Arc View 3.1
Introduction & Objectives 1 Group Idea 2 Programming Design 3 Results and discussion 4 Future plans 5.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)

๖.๑ บทนำ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นหลักที่สำคัญอันหนึ่งที่ทำให้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ ที่ใช้ในการจัดทำแผนที่เพียงอย่างเดียว หรือจัดทำฐานข้อมูลเพียงอย่างเดียว ซึ่งในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นั้นจะใช้รายละเอียดข้อมูลทั้งที่เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) และข้อมูลเชิงบรรยาย (Non-spatial data) มาใช้ในการวิเคราะห์

๖.๒ รูปแบบของการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ๖.๒.๒ การวิเคราะห์ด้วย GIS และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ ดั้งเดิม ๖.๒.๑ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และระบบสารสนเทศ อื่นๆ

๖.๓ รูปแบบการวิเคราะห์ด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ ร่วมกับข้อมูลเชิงคุณลักษณะได้ ทำให้การวิเคราะห์ที่ต้องการจึงมีความซับซ้อน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้หลายๆ อย่าง เช่น

การสอบถามข้อมูลการหาที่ตั้ง (Location) สอบถามข้อมูลโดยการตั้งเงื่อนไข (Condition) การสอบถามข้อมูลถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง (Trends) การสอบถามข้อมูลรูปแบบการเปลี่ยนแปลง (Patterns) การสอบถามข้อมูลด้วยการสร้างแบบจำลอง (Modeling)

ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์อาจจะแบ่งรูปแบบหลักในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ 3 รูปแบบคือ ก) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Analysis of Spatial Data ) ข) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย (Analysis of Attribute Data) ค) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ร่วมกับข้อมูลเชิงบรรยาย (Integrated analyses of spatial and attribute data)

๖.๓.๑ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Analysis of the Spatial Data) ก) การแปลงระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Transformation or Projection) รูปที่ 6.1 ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลงพิกัดจากระบบ Geographic มาเป็น UTM

ข) การต่อแผนที่ (Mosaic) หรือการเทียบขอบ (Edge-matching) รูปที่ 6.2 รูปแบบการต่อแผนที่โดยใช้โปรแกรมช่วย

ค) คำนวณพื้นที่, เส้นรอบวง และระยะทาง การคำนวณพื้นที่ที่อยู่ในฐานข้อมูล และสามารถวัดพื้นที่เส้นรอบวง ความยาวเส้น และระยะทางของเส้นได้ โดยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะคำนวณได้อัตโนมัติหลังการทำ Topology แล้ว หรือ อาจจะสอบถามผ่านโปรแกรมได้ โดยใช้เครื่องมือหรือคำสั่งในโปรแกรมเพื่อบอกระยะทางและพื้นที่ได้

๖.๓.๒ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย (Analysis of Non-Spatial Data) ในการประมวลผลข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เราจะใช้การแก้ไขข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้อง และวิเคราะห์ผล ข้อมูลเชิงบรรยาย ซึ่งกระบวนการนี้ดูคล้ายกับกระบวนการวิเคราะห์ผลในรูปแบบดั้งเดิม ซึ่งอาศัยกระบวนการฐานข้อมูลและสถิติ

ก) การแก้ไขข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Editing Function) รูปที่ 6.3 การแก้ไขและการเชื่อมความสัมพันธ์ตาราง

ข) การสอบถามข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Query Function) รูปที่ 6.4 การสอบถามข้อมูลโดยตั้งเงื่อนไข

ค) กระบวนการทางสถิติ (Attribute Statistic Function) รูปที่ 6.5 คำนวณค่าสถิติของข้อมูลเชิงคุณลักษณะ

๖.๓.๓ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ร่วมกับข้อมูลเชิงบรรยาย (Integrated Analysis of the Spatial and Non-Spatial Data) ก) การเรียกค้นข้อมูล, การแบ่งกลุ่มข้อมูล และการวัด (Data retrieval, Classification and Measurement) 1) การเรียกค้นข้อมูล (Retrieval) 2) การแบ่งกลุ่มข้อมูล (Classification) 3) การวัด (Measurement)