ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนของสถานศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าทางสถิติ
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
ข้อสอบกลางภาค ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นว่า E-Business และ E-Commerce มีประโยชน์อย่างไรกับนักศึกษาบ้างในปัจจุบันและอนาคต 2 ในกรณีที่นักศึกษาเป็นเจ้าของบริษัทด้านค้าขายและติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ให้กับลูกค้าทั่วไป.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ส่วนที่1 แนวความคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การศึกษาความพึงพอใจของ
โดย กองกลาง สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
1 วิจารณ์ผลการศึกษา โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า เพื่อเสนอแนะมาตรการ ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ รศ. ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ คณะเศรษฐศาสตร์
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
Easy way to Estimate Training Project
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรนำที่ผลักดันตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้า ตามมาตรฐานสากล ให้เป็นที่รู้จัก และใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ มุ่งเน้นผลงาน บริการด้วยใจ โปร่งใสให้ตรวจสอบ ตอบสนองพันธกิจ

การใช้สูตรค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ในกระบวนการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การใช้สูตรค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ในกระบวนการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค

1. การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลมีกี่วิธี มีระเบียบวิธีทางสถิติ 5 วิธี คือ 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) 2) มัธยฐาน (Median) 3) ฐานนิยม (Mode) 4) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean) 5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค (Harmonic Mean)

ข้อดี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ข้อดี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1) เข้าใจและคำนวณง่าย 2) ได้ใช้คะแนนทุกตัวในการคำนวณ 3) คำนวณได้เสมอทุกกรณีและเป็นค่าที่แน่นอนไม่ว่าข้อมูลจะแจกแจงหรือไม่แจกแจงความถี่ 4) ใช้คำนวณในสถิติขั้นสูงมากกว่าค่าเฉลี่ยแบบอื่น ๆ 5) ส่วนเบี่ยงเบนของคะแนนจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตให้ค่าน้อยที่สุด

ข้อเสีย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ข้อเสีย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1) จากการที่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตต้องใช้คะแนนทุกตัวในการคำนวณ ฉะนั้นถ้ามีคะแนนตัวใดผิดปกติค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะให้ค่าเฉลี่ยที่ผิดปกติด้วย 2) ค่าของค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะตรงกับค่าที่เป็นจริงข้อมูลเพียงไม่กี่รายการ หรืออาจไม่ตรงกันเลย

1. การหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อจัดทำดัชนี มีกี่วิธี 3 วิธี ดังนี้ 1) The relative of arithmetic mean prices : RA (สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา) 2) The arithmetic mean of price relatives : AR (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์) 3) The geometric mean of price relatives = The relative of geometric mean prices : GM (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา)

2.บอกความหมาย สูตร และนัยสำคัญของแต่ละวิธี 1) The relative of arithmetic mean prices : RA (สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา)

ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร RA 101.1688 75.7400 74.8600

(ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์) 2) The arithmetic mean of price relatives : AR (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์)

ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร AR 101.2600 -

3) The geometric mean of price relatives = The relative of geometric mean prices : GM (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา)

ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร GM 101.2088 75.6689 74.7646

3.เชื่อมโยงสูตรกับการจัดทำค่าเฉลี่ยของราคาสินค้า สูตรคำนวณดัชนี Modified Laspeyres สัมพัทธ์เฉลี่ย น้ำหนักถ่วง/ค่าใช้จ่าย

4.ผลกระทบจากการคำนวณค่าเฉลี่ยแต่ละวิธี ที่มีต่อค่าดัชนี สูตร สัมพัทธ์ RA 101.1688 75.7400 74.86 GM 101.2088 75.6689 74.7646 AR 101.26 - ราคาเฉลี่ยปัจจุบัน ราคาเฉลี่ยช่วงก่อนหน้า ค่าสัมพัทธ์ที่คำนวณได้จากสูตร AR จะมีค่ามากกว่าสูตร RA และ GM เสมอ ซึ่งส่งผลให้ตัวเลขดัชนีสูงด้วย ค่าสัมพัทธ์ที่คำนวณได้จากสูตร GM อาจจะมากหรือน้อยกว่าสูตร RA สรุป AR > RA,GM

5.สรุปจุดเด่น – จุดด้อยของวิธีต่างๆที่ใช้ในอดีต->ปัจจุบัน ตารางแสดงคุณสมบัติของสูตรดัชนีผลรวมพื้นฐานที่สำคัญ RA AR GM - ความเป็นสัดส่วนกัน + + + - การเปลี่ยนแปลงหน่วย + + - - การเปลี่ยนกลับกันของเวลา + - + - การถ่ายทอด + + - - การทดแทนกัน No No Yes

6.ปัจจุบันใช้กี่วิธี อะไรบ้าง 2 วิธี คือ 1) สูตร AR - ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์ 2) สูตร GM – ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ หรือเท่ากับ สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา

7.ทำไมจึงเปลี่ยนวิธีการหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อทำดัชนี ?? ทำไมจึงเปลี่ยนสูตรจาก RA มาเป็น AR 1. สูตร RA ขาดคุณสมบัติการเปลี่ยนแปลงหน่วย หมายความว่า ต้องเปรียบเทียบด้วยหน่วยเดียวกันเท่านั้น 2. การเปลี่ยนแปลงราคาของ spec. ที่มีราคาสูง จะมีความสำคัญ มากกว่า spec. ที่มีราคาต่ำ ซึ่งจะมีแนวโน้มที่จะชี้นำดัชนี

8.การคัดเลือกสินค้าที่ใช้กับแต่ละวิธี มีหลักเกณฑ์อย่างไร