ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรนำที่ผลักดันตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้า ตามมาตรฐานสากล ให้เป็นที่รู้จัก และใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ มุ่งเน้นผลงาน บริการด้วยใจ โปร่งใสให้ตรวจสอบ ตอบสนองพันธกิจ
การใช้สูตรค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ในกระบวนการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การใช้สูตรค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ในกระบวนการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค
1. การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลมีกี่วิธี มีระเบียบวิธีทางสถิติ 5 วิธี คือ 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) 2) มัธยฐาน (Median) 3) ฐานนิยม (Mode) 4) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean) 5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค (Harmonic Mean)
ข้อดี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ข้อดี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1) เข้าใจและคำนวณง่าย 2) ได้ใช้คะแนนทุกตัวในการคำนวณ 3) คำนวณได้เสมอทุกกรณีและเป็นค่าที่แน่นอนไม่ว่าข้อมูลจะแจกแจงหรือไม่แจกแจงความถี่ 4) ใช้คำนวณในสถิติขั้นสูงมากกว่าค่าเฉลี่ยแบบอื่น ๆ 5) ส่วนเบี่ยงเบนของคะแนนจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตให้ค่าน้อยที่สุด
ข้อเสีย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ข้อเสีย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1) จากการที่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตต้องใช้คะแนนทุกตัวในการคำนวณ ฉะนั้นถ้ามีคะแนนตัวใดผิดปกติค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะให้ค่าเฉลี่ยที่ผิดปกติด้วย 2) ค่าของค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะตรงกับค่าที่เป็นจริงข้อมูลเพียงไม่กี่รายการ หรืออาจไม่ตรงกันเลย
1. การหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อจัดทำดัชนี มีกี่วิธี 3 วิธี ดังนี้ 1) The relative of arithmetic mean prices : RA (สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา) 2) The arithmetic mean of price relatives : AR (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์) 3) The geometric mean of price relatives = The relative of geometric mean prices : GM (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา)
2.บอกความหมาย สูตร และนัยสำคัญของแต่ละวิธี 1) The relative of arithmetic mean prices : RA (สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา)
ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร RA 101.1688 75.7400 74.8600
(ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์) 2) The arithmetic mean of price relatives : AR (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์)
ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร AR 101.2600 -
3) The geometric mean of price relatives = The relative of geometric mean prices : GM (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา)
ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร GM 101.2088 75.6689 74.7646
3.เชื่อมโยงสูตรกับการจัดทำค่าเฉลี่ยของราคาสินค้า สูตรคำนวณดัชนี Modified Laspeyres สัมพัทธ์เฉลี่ย น้ำหนักถ่วง/ค่าใช้จ่าย
4.ผลกระทบจากการคำนวณค่าเฉลี่ยแต่ละวิธี ที่มีต่อค่าดัชนี สูตร สัมพัทธ์ RA 101.1688 75.7400 74.86 GM 101.2088 75.6689 74.7646 AR 101.26 - ราคาเฉลี่ยปัจจุบัน ราคาเฉลี่ยช่วงก่อนหน้า ค่าสัมพัทธ์ที่คำนวณได้จากสูตร AR จะมีค่ามากกว่าสูตร RA และ GM เสมอ ซึ่งส่งผลให้ตัวเลขดัชนีสูงด้วย ค่าสัมพัทธ์ที่คำนวณได้จากสูตร GM อาจจะมากหรือน้อยกว่าสูตร RA สรุป AR > RA,GM
5.สรุปจุดเด่น – จุดด้อยของวิธีต่างๆที่ใช้ในอดีต->ปัจจุบัน ตารางแสดงคุณสมบัติของสูตรดัชนีผลรวมพื้นฐานที่สำคัญ RA AR GM - ความเป็นสัดส่วนกัน + + + - การเปลี่ยนแปลงหน่วย + + - - การเปลี่ยนกลับกันของเวลา + - + - การถ่ายทอด + + - - การทดแทนกัน No No Yes
6.ปัจจุบันใช้กี่วิธี อะไรบ้าง 2 วิธี คือ 1) สูตร AR - ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์ 2) สูตร GM – ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ หรือเท่ากับ สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา
7.ทำไมจึงเปลี่ยนวิธีการหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อทำดัชนี ?? ทำไมจึงเปลี่ยนสูตรจาก RA มาเป็น AR 1. สูตร RA ขาดคุณสมบัติการเปลี่ยนแปลงหน่วย หมายความว่า ต้องเปรียบเทียบด้วยหน่วยเดียวกันเท่านั้น 2. การเปลี่ยนแปลงราคาของ spec. ที่มีราคาสูง จะมีความสำคัญ มากกว่า spec. ที่มีราคาต่ำ ซึ่งจะมีแนวโน้มที่จะชี้นำดัชนี
8.การคัดเลือกสินค้าที่ใช้กับแต่ละวิธี มีหลักเกณฑ์อย่างไร