การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

1. กิจกรรม เดือน กันยายน 2553(... กิจกรรม)
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การจัดสรรตำแหน่งและการคัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้ารับราชการ
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
การติดตาม และประเมินโครงการ.
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การตรวจสอบและการพิจารณานำเข้ายา
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ.2552.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 18 กันยายน 2552
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ไข้เลือดออก.
ความร่วมมือเครือข่ายภาคอีสาน กับคุณภาพนมโรงเรียนปี 2553
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
Primary GMP นางอุบล ธาราวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สรุปผลนิเทศงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ระดับอำเภอปีงบประมาณ สิงหาคม 2557.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
การควบคุมกำกับ สถานที่ผลิต อาหาร ประเภท สถาน ประกอบ การ เป้าหม าย ( แห่ ง ) ตรวจ ค้าง ตรวจ ตรวจทั้งหมดผ่าน ไม่ ผ่าน ไม่ พบ / ยกเลิก แห่ง % % GMP
1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP
การเก็บตัวอย่างอาหาร (สำหรับงานตรวจสอบ) กรณีร้องเรียน, กรณีพิเศษ, กรณีเร่งด่วน จากสถานที่ผลิตอาหาร, จำหน่ายอาหาร, นำเข้า กลุ่มกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด สำนักอาหาร.
1. การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหาร Primary GMP 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง 1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิต - ดำเนินการร่วมกับทีม PGMP ระดับอำเภอ - สถานที่ผลิตที่ได้รับอนุญาตแล้ว.
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์

พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 เภสัชกร โรงพยาบาลของรัฐ สาธารณสุขอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงาน ในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและสถานีอนามัย เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข พยาบาลเทคนิค เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ตั้งแต่ระดับ4 ขึ้นไป ที่ปฏิบัติงานในสำนักงาน สาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย

การตรวจสถานที่ผลิตอาหาร ตามเกณฑ์ GMP

ผลการดำเนินการตรวจ GMP ปี 2555 จำนวนที่ตรวจ ผ่าน GMP ไม่ผ่าน GMP 89 79 (88.76%) 10 (11.24%)

ผลการดำเนินการ ปี 2555 ใช้แบบตรวจ GMP ไม่ถูกกับประเภทของสถานที่ผลิตอาหาร ผู้ลงคะแนนหรือแก้ไขคะแนนในแบบตรวจ GMP ไม่ได้เป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 การลงรายละเอียดข้อมูลในแบบตรวจ GMP หัวข้อที่ให้ คะแนน “ปรับปรุง” ไม่ได้ถ่ายรูปแนบประกอบการส่งผลการ ตรวจให้ สสจ. หัวข้อที่ต้องปรับปรุงหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำ ผู้ประกอบการ ไม่ได้ระบุรายละเอียดในช่อง “หมายเหตุ”

การดำเนินการ ปี 2556 ขั้นตอนการดำเนินการของอำเภอ พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบสถานที่ ไม่พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจสอบให้ผู้ประกอบการทราบ พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจสอบให้ผู้ประกอบการทราบและแจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง ***พร้อมทำหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ***

การดำเนินการ ปี 2556 แบบฟอร์มที่ใช้ในการตรวจ 1. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร -- ตส.1(50) ใช้ตรวจสถานที่ผลิตอาหารที่กำหนดให้ใช้เกณฑ์ GMP เช่น นมUHT น้ำแข็ง ลูกชิ้น แหนม ไอศกรีม ขนมปัง ฯลฯ 2. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิท –- ตส.3(50) 3. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปในภาชนะ บรรจุพร้อมจำหน่าย– ตส.9(50) ใช้ตรวจสถานที่ผลิต อาหารที่กำหนดให้ใช้เกณฑ์ Primary GMP

การดำเนินการ ปี 2556 หากมีการแก้ไขคะแนนในแบบตรวจ GMP ต้องให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 เป็นผู้แก้ไข โดยให้ ขีดฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ การลงรายละเอียดข้อมูลในแบบตรวจ GMP หัวข้อที่ให้ คะแนน “ปรับปรุง” ให้ “ถ่ายรูป”แนบประกอบการส่งผล การตรวจให้ สสจ. หัวข้อที่ต้องปรับปรุงหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำ ผู้ประกอบการ ให้ระบุรายละเอียดในช่อง “หมายเหตุ” ด้วย

การดำเนินการ ปี 2556 รายละเอียดที่ต้องลงข้อมูลในแบบตรวจ เช่น รายละเอียดที่ต้องลงข้อมูลในแบบตรวจ เช่น แหล่งน้ำดิบ (น้ำบ่อ , น้ำบาดาล , น้ำประปา) เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดค่า pH ให้ระบุด้วยว่าผู้ประกอบการมีชุดทดสอบชนิดใดบ้าง และต้องตรวจสอบว่าชุดทดสอบที่มีหมดอายุหรือไม่

การดำเนินการ ปี 2556 กรณีพบความผิดซึ่งหน้าหรือความผิดที่เป็น Major Defect เช่น เปิดประตูห้องบรรจุขณะทำการผลิต/ใช้สายยาง กรอกน้ำ ให้ถ่ายรูปและทำบันทึกคำให้การประกอบการ ส่งผลตรวจให้สสจ.ด้วย

เครื่องมือที่ใช้ตรวจ การดำเนินการ ปี 2556 รายละเอียดที่ให้ลงเพิ่มเติม น้ำดิบ product เครื่องมือที่ใช้ตรวจ Cl pH

การดำเนินการ ปี 2556 การตรวจ Primary GMP ปี 2556 (ยกระดับสถานที่ผลิต อาหารตามเกณฑ์ GHP เดิม) สสจ.ร่วมออกตรวจกับ จนท.อำเภอ

การเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อ ส่งตรวจวิเคราะห์ การเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อ ส่งตรวจวิเคราะห์

ผลการดำเนินการตรวจ GMP ปี 2555 ประเภท เป้าหมาย (ตย.) ส่งตรวจ(ตย.) ผลการตรวจวิเคราะห์ (ตย.) รายละเอียด ผ่าน ไม่ผ่าน 1.น้ำบริโภคฯ 80 77 37 40 - pH 15 - pH+MPN 6 - pH+MPN+Salmo. gr.c 1 - MPN 16 - MPN+E.coli 2 2.น้ำแข็ง 15 9 4 5 - pH 5 3.นม 12 11 7 ไขมันต่ำกว่าเกณฑ์ 3 - เนื้อนมไม่รวมไขมัน ต่ำกว่าเกณฑ์ 3 - พบแบคทีเรีย 1

ผลการดำเนินการตรวจ GMP ปี 2555 ประเภท เป้าหมาย (ตย.) ส่งตรวจ(ตย.) ผลการตรวจวิเคราะห์ (ตย.) รายละเอียด ผ่าน ไม่ผ่าน 4.เส้นก๋วยเตี๋ยว 4 5.ผลิตภัณฑ์ จากเนื้อสัตว์ 5.1 แหนม 2 1 - S. aureus 1 5.2 หมูยอ - C. perfringens มากกว่าเกณฑ์ 1 6.ผักกาดหวาน - ยีสต์มากกว่าเกณฑ์ 1 7.น้ำปลา 3 - ไอโอดีนมากกว่าเกณฑ์ 2 รวม 137 109 52 (47.71%) 57 (52.77%)

ผลการดำเนินการ ปี 2555 การเก็บตัวอย่างยังไม่ถูกต้อง เก็บตัวอย่างที่ใกล้หมดอายุ การแก้ไขข้อมูลในแบบเก็บตัวอย่างต้องให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 เป็นผู้แก้ไข โดยให้ขีดฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ หากมีการแก้ไขข้อมูลในแบบเก็บตัวอย่างต้องให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 เป็นผู้แก้ไข โดยให้ขีด ฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ

ตัวอย่าง

ปฏิทินการดำเนินการ ปี 2556 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผู้ดำเนินการ ธ.ค. 55 ม.ค. 56 ก.พ. 56 มี.ค. 56 เม.ย.56 พ.ค.56 มิ.ย.56 ก.ค.56 ส.ค.56 1. อบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ 2. อบรมผู้ประกอบการ 3. ตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMP สสจ.และจนท.อำเภอ 4. ตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ Primary GMP 5. เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ รอบ 1 รอบ 2