การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
Advertisements

ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ระบบประสาท (Nervous System)
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
Thyroid.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Myasthenia Gravis.
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
ความเสี่ยงอันตรายจาก
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ผลไม้ รักษาโรคได้.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
Acute diarrhea.
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
SELENIUM ซีลีเนียม.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น พญ.ภัทรา เจริญทรัพย์ รพ.ศ.ขอนแก่น

การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น 1. การช่วยชีวิตเบื้องต้น (Basic life support) 2. การประเมินสภาพผู้ป่วย (Patient evaluation) 3. การดูแลรักษาเบื้องต้น (Early management) 4. การดูแลรักษาตามอาการและประคับประคอง (Symptomatic and supportive care) 5. การดูแลรักษาสารพิษเฉพาะ (Management of specific intoxication)

1. การช่วยชีวิตเบื้องต้น (Basic life support) 1. Airwayประเมินดูว่าผู้ป่วยมีปัญหาการอุดตันทางเดินหายใจ หรือไม่ 2. Breathing ต้องมีการประเมินการหายใจของผู้ป่วยว่าเพียงพอหรือไม่ 3. Circulation ต้องมีการวัดความดันโลหิต วัดอัตราการเต้นของชีพจร 4. Drug-induced central nervous system depression เป็นการประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย

Glasgow coma score

2. การประเมินสภาพผู้ป่วย (Patient evaluation) 1. Who? ผู้ป่วยเป็นใคร อายุอาชีพ เจ็บป่วย ใช้ยาอะไรบ้างเป็นประจำ 2. What? สารพิษคืออะไร 3. When? ผู้ป่วยได้รับสารพิษเมื่อไหร่ 4. Where? สถานที่ที่พบผู้ป่วย5. How? ปริมาณสารพิษที่ผู้ป่วยได้รับมีปริมาณเท่าไร

6. Why? สาเหตุของการได้รับสารพิษหรือยาที่เกินขนาด 6.1) อุบัติเหตุ 6.2) ตั้งใจ 6.3) เป็นความผิดพลาดของการรักษา 6.4) ผู้ป่วยใช้สารเสพติด

การตรวจร่างกาย ต้องตรวจร่างกายให้ครบทุกระบบ และต้องนำผลการตรวจที่ปกติและผิดปกติมาร่วมประมวล Toxic syndromes 1 Sympathetic syndrome 2 Cholinergic syndrome 3 Anticholinergic syndrome 4 Opiate syndrome

1. Sympathetic syndrome สารพิษที่ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบ ผู้ป่วยมาด้วยสับสน, ความดันโลหิตสูง,หัวใจเต้นเร็ว,ไข้, ม่านตาขยาย, การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง, เหงื่อออกมาก, hyperreflexia สารพิษหรือยาที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวได้แก่ amphetamine, caffeine, theophylline, ยาในกลุ่ม decongestants เป็นต้น

2. Cholinergic syndrome ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง หลอดลมขยายตัว การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง, กล้ามเนื้ออ่อนแรง,ม่านตาหรี่ หัวใจเต้นช้าลง ความดันโลหิตต่ำ หลอดลมหดตัว การเคลื่อนไหวของลำไส้เพิ่มขึ้น ถ่ายเหลว คลื่นไส้อาเจียน ระบบประสาทส่วนกลางทำให้ผู้ป่วยมาด้วยอาการ ตื่นกลัว สับสน กระวนกระวาย (agitation) ซึมลง ไม่รู้สึกตัว ชัก สารพิษที่ทำให้เกิดกลุ่มอาการที่กล่าวมาข้างต้น เช่น ยาฆ่าแมลงในกลุ่ม organophosphate และ carbamate

3. Anticholinergic syndrome อาการ ผิวแห้ง ตัวแดง ไข้สูง ปากแห้งคอแห้ง ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว ปัสสาวะไม่ออก สับสน เห็นภาพหลอน ยาที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวได้แก่ ยาในกลุ่ม antihistamines, tricyclicantidepressants, antipsychotics, atropine

4. Opiates syndrome อาการ ม่านตาเล็ก หายใจช้า หัวใจเต้นช้า ซึมลง ท้องผูก การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง มีร่องรอยการใช้ฉีดสารเสพติดเข้าที่แขนพับ สารพิษที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวข้างต้นได้แก่ ยาในกลุ่ม morphine,ยานอนหลับ,ยากันชัก

3. การดูแลรักษาเบื้องต้น (Early management) 3.1 การลดการดูดซึมสารพิษ 3.1.1 การกระตุ้นให้อาเจียน 3.1.2 การสวนล้างกระเพาะอาหาร การให้ผงถ่านกัมมันต์ครั้งเดียว (Single dose activated charcoal) 3.1.3 การให้ยาระบาย 3.1.4 การทำ Whole bowel irrigation (WBI)

สารพิษต่อไปนี้ห้ามทำการลดการดูดซึมสารพิษโดยวิธีล้างท้อง 1. กรดแก่หรือด่างแก่ 2. nontoxic ingestion เช่น detergen 3. low viscosity และ low toxicity hydrocarbons ได้แก่ ether, gasoline, kerosene, turpentive ส่วน halogenated hydrocarbon ควรรีบกำจัดออก

3.2 การเพิ่มการขับออกของสารพิษ 3.2.1 การให้ผงถ่านกัมมัมต์แบบซ้ำ ๆ 3.2.2 Alkalinized หรือ acidified urine 3.2.3 Hemodialysis หรือ hemoperfusion Activated charcoal

4. การดูแลรักษาตามอาการและประคับประคอง 5. การดูแลรักษาสารพิษเฉพาะ

มีคำถามมั้ยคะ

ขอบคุณค่ะ